สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน รอบเดือน ตุลาคม 2551 - กันยายน 2552
สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน สถานบริการ : โรงพยาบาล
สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน สถานบริการ : สถานีอนามัย
ผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการ ปีงบประมาณ 2552
ผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการ
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง รอบเดือน ตุลาคม 2552 - มกราคม 2553
วิเคราะห์ สภาพคล่องทางการเงิน
อัตราส่วนทางการเงิน CR QR
Cash Ratio
สินทรัพย์หมุนเวียน/หนี้สินหมุนเวียน
ระยะหมุนเวียนถัวเฉลี่ยลูกหนี้ NON UC วัน
ระยะหมุนเวียนถัวเฉลี่ยลูกหนี้ NON UC ดัชนี รพ.กระบี่ รพ.อ่าวลึก รพ.คลองท่อม รพ.เขาพนม รพ.เหนือคลอง รพ.ปลายพระยา รพ.ลำทับ รพ.เกาะลันตา ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บลูกหนี้ค่ารักษา Non UC และ Non SSS ( วัน ) 33.19 39.43 56.78 33.03 35.49 65.20 26.65 16.11 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บลูกหนี้ค่ารักษาประกันสังคม ( วัน ) 134.81 72.81 85.49 81.79 64.74 117.03 94.90 101.61 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บลูกหนี้ค่ารักษาตามจ่ายUC ( วัน ) 30.69 37.23 45.95 15.60 41.36 61.87 21.11 46.62 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บลูกหนี้ค่ารักษาเบิกคลังและต้นสังกัด ( วัน ) 51.47 63.25 83.61 66.27 69.03 123.73 65.64 48.50
ระยะถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้ วัน
ระยะถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้ ดัชนี รพ.กระบี่ รพ.อ่าวลึก รพ.คลองท่อม รพ.เขาพนม รพ.เหนือคลอง รพ.ปลายพระยา รพ.ลำทับ รพ.เกาะลันตา ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระเจ้าหนี้การค้า(วัน) 60.02 186.37 53.85 67.57 126.12 79.86 69.94 213.20 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระเจ้าหนี้การค้าสำหรับค่ายา เวชภัณฑ์และวัสดุการแพทย์(วัน) 81.81 224.79 75.31 79.01 91.90 113.11 72.04 224.95 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระเจ้าหนี้ค่ารักษาพยาบาลตามจ่ายในจังหวัด (วัน) 24.65 30.32 17.28 16.91 18.98 39.52 41.05 37.18 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระเจ้าหนี้ค่ารักษาพยาบาลตามจ่ายนอกจังหวัด,ต่างสังกัด,แรงงานต่างด้าวและค่าบริการ (วัน) 41.11 0.00 91.23 58.63 2.07 149.05
ระยะถัวเฉลี่ยการหมุนเวียนวัสดุคงคลัง
ความสามารถในการทำกำไร วิเคราะห์ ความสามารถในการทำกำไร
วิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไร
วิเคราะห์ต้นทุน
ต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อ RW ตค.52- มค.53 รพท.= 23,153 รพช.> 30 = 18,356 รพช.< 30 = 22,059 STD:รพช.
เปรียบเทียบต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อRWกับต้นทุนบริการต่อRW รพท.= 23,153 รพช.> 30 = 18,356 รพช.< 30 = 22,059 รพท.= 23,153 รพช.> 30 = 18,356 รพช.< 30 = 22,059 รพท.= 18,147 รพช.> 30 = 12,696 รพช.< 30 = 15,547
ต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อOPD Visit ตค.52-มค.53 รพท.= 1,215 รพช.> 30 = 646 รพช.< 30 = 659
เปรียบเทียบต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อ OPD Visit กับต้นทุนบริการต่อOPD Visit รพท.= 1,215 รพช.> 30 = 646 รพช.< 30 = 659 รพท.= 942 รพช.> 30 = 458 รพช.< 30 = 463
จำนวนผู้รับบริการ ครั้ง ผู้ป่วยนอก คน ผู้ป่วยใน
Operating Analysis
ทุนสำรองสุทธิ ล้านบาท ล้านบาท เป็นบวก 281.97
ทุนสำรองสุทธิพอเพียงต่อค่าใช้จ่าย เดือน
I/E Ratio
รายรับและรายจ่ายในการดำเนินงาน
อัตราการครองเตียง/อัตราการใช้เตียง STD:70 STD : 50
อัตราการรับผู้ป่วยในต่อผู้ป่วยนอก/สัดส่วนRefer in ต่อ Refer out STD : 3% STD:0.10
อัตราการตายผู้ป่วยใน/Length Of Stay(LOS)
สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ กลุ่มที่ 1 กลุ่มโรงพยาบาลที่มีสภาพคล่องทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ดีมาก มี อัตราส่วนทุนหมุนเวียน มากกว่า 1.5 และมีความสามารถในการชำระหนี้ค่อน ข้างสูง ได้แก่ รพ.กระบี่ รพ.คลองท่อม รพ.เขาพนม และรพ.ลำทับ 1. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีเงินทุนสำรอง หรือมีอัตราเงินทุนหมุนเวียนเดิมเพียงพออยู่แล้ว และมีทุนสำรองสุทธิ ณ ปัจจุบัน สามารถดำรงอยู่ได้มากกว่า 6 เดือน 2. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีระบบการบริหารจัดการภายในโรงพยาบาลที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสม เช่น มีระบบศูนย์กลางการเรียกเก็บและจัดเก็บลูกหนี้ มีระบบการบริหารภาระหนี้สิน สังเกตุได้จาก ระยะถัวเฉลี่ยวันหมุนเวียนของลูกหนี้/เจ้าหนี้ไม่เกิน 90 วัน และโรงพยาบาลมีระบบศูนย์จำหน่ายผู้ป่วย มีระบบการตรวจสอบสิทธิการรักษาที่มีประสิทธิภาพ มีแผนการเงินรองรับการใช้จ่ายเงินอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดสภาวะรายรับสมดุลกับรายจ่าย 3. โรงพยาบาลมีระบบการควบคุม กำกับ ติดตาม วิเคราะห์ปัญหาทางด้านการเงินการคลัง และปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ
สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ กลุ่มที่ 2 กลุ่มโรงพยาบาลที่มีสภาพคล่องทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ มีสภาพคล่องไม่ดีนัก และแต่ยังคงมีอัตราส่วน เงินสดที่อยู่ในเกณฑ์ดี ซึ่งแสดงถึงยังคงมีความสามารถในชำระหนี้ระยะสั้น โรงพยาบาลในกลุ่มนี้ระยะยาวต้อง มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและรัดกุมมากขึ้น และต้องปรับระบบการบริหารจัดการด้านการเงินให้ เกิดสภาวะรายรับสมดุลกับรายจ่าย ได้แก่ รพ.ปลายพระยา รพ.เหนือคลอง 1. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีเงินทุนสำรองเพียงพอ ต่อค่าใช้จ่ายประเภท Fixed Cost แต่สำหรับค่าใช้จ่ายในส่วน Variable Cost และการลงทุนในประเภทสินทรัพย์ครุภัณฑ์ ต้องอาศัยระบบการบริหารจัดการที่เหมาะสม 2. โรงพยาบาลมีระบบการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง ในขอบเขตจำกัด เนื่องจากปัญหาสภาพพื้นที่ ปัญหาเงินทุนสำรองที่มีอยู่อย่างจำกัด และความต้องการพัฒนาคุณภาพงานบริการ สภาพแวดล้อมภูมิทัศน์ภายนอกองค์กร ดังนั้น เพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงิน จะต้องมีปรับระบบการบริหารจัดการให้เกิดสภาวะสมดุลด้านรายรับและรายจ่าย และปรับลดการลงทุนในสินทรัพย์ที่ไม่คุ้มค่าคุ้มทุน
สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ กลุ่มที่ 3 กลุ่มโรงพยาบาลที่ขาดสภาพคล่องทางการเงิน โรงพยาบาลกลุ่มนี้ความสามารถในการชำระหนี้ และความสามารถ ในการทำกำไรค่อนข้างต่ำ เนื่องจากโรงพยาบาลจะต้องแบกภาระหนี้สินค่อนข้างสูงและต้องแบกรับภาระต้นทุน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการมาก ถึงแม้จะมีการเพิ่มช่องทางการเก็บรายได้ และสามารถจัดเก็บรายได้เพิ่มขึ้นก็ตาม โรงพยาบาลในกลุ่มนี้จะต้องประคับประคองการใช้จ่ายเงิน ควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่าย ให้มีการใช้จ่ายอย่างสมเหตุสมผล และเป็นไปตามแผน และต้องอาศัยระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและรัดกุม และต้องอาศัยเงินสนับสนุน ช่วยเหลือจากส่วนกลาง ได้แก่ โรงพยาบาลอ่าวลึก และโรงพยาบาลเกาะลันตา 1. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีเงินทุนสำรองค่อนข้างน้อยมาก รายได้ส่วนใหญ่ได้จากเงินกองทุน UC ขณะที่ต้องแบกภาระค่าใช้จ่ายงบบุคลากรค่อนข้างสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอัตราค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่เพิ่มขึ้น 2. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะแบกภาระหนี้สินค่อนข้างสูง เนื่องจากมีกำลังในการชำระหนี้น้อยมาก ทำให้เกิดสภาพหนี้สินทวีคูณ 3. โรงพยาบาลกลุ่มนี้มีแนวคิดในการบริหารจัดการ ซึ่งได้มีการจัดทำ Financial Reform รองรับ แต่ส่วนใหญ่อยู่ในขอบเขตจำกัด เช่น การบริหารภาระหนี้สิน ไม่สามารถเร่งรัดการเบิกจ่ายชำระหนี้ให้ทันภายในกรอบเวลา ได้แก่ เจ้าหนี้การค้ายา/เวชภัณฑ์ ค่าตอบแทนบุคลากร ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่างๆ 4. เกิดจากปัญหาสภาพพื้นที่ไม่เอื้ออำนวย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรงพยาบาลเกาะลันตา ซึ่งเป็นพื้นที่ห่างไกล การคมนาคมไม่สะดวก การพัฒนาด้านต่างๆ ค่อนข้างดำเนินการได้จำกัด
ข้อเสนอและแนวทางการแก้ปัญหา สนับสนุนเงิน CF ช่วยเหลือรพ.เกาะลันตา เป็นเงิน 2,334,708.15 บาท โรงพยาบาลที่เข้าข่ายประสบปัญหาได้แก่ รพ.เกาะลันตา และรพ.อ่าวลึก ให้จัดทำ Financial Reform โรงพยาบาลเหนือคลองซึ่งเริ่มมีปัญหาทางด้านการเงิน ให้ดำเนินการตามแผนอย่างเคร่งครัด กำหนดมาตรการประหยัด และลดการลงทุนในสินทรัพย์ที่ไม่จำเป็น เบื้องต้นจังหวัดจะลงพื้นที่ติดตามการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังโรงพยาบาลอ่าวลึกในเชิงลึก ขอสนับสนุนเงินช่วยเหลือจากระดับเขต เนื่องจากเงินกันระดับจังหวัดมีไม่เพียงพอในการรองรับการช่วยเหลือหน่วยงานในจังหวัดที่ขาดสภาพคล่องทางการเงิน