นางสาวปัทมาภรณ์ บุญมาดี คุณครูนวลทิพย์ นวพันธุ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
Advertisements

บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
การดำเนินการของลำดับ
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ มาสเตอร์วินิจ กิจเจริญ
นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
การวิเคราะห์ความเร็ว
อินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบแน่นอน
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
ตรีโกนมิติ(Trigonometry)
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
หันหน้าไปทางทิศเหนือ
TWO-DIMENSIONAL GEOMETRIC
ความเท่ากันทุกประการ
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
Function and Their Graphs
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
นายสุวรรณ ขันสัมฤทธิ์
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
โปรแกรมคำนวณค่าไซน์ (Sine)
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
คุณสมบัติการหารลงตัว
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
Systems of Forces and Moments
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
หน่วยการวัดมุมเรียกว่า องศา เขียนสัญลักษณ์แทนด้วย “ ”
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
วงรี ( Ellipse).
ครูชำนาญ ยันต์ทอง โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี
คณิตศาสตร์ ตัวอย่างข้อสอบ On-Line เรื่อง วงกลม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ด้านตรงข้ามมุมฉาก ด้านตรงข้ามมุมA ด้านประชิดมุมA.
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
ความชันและสมการเส้นตรง
โลกและสัณฐานของโลก.
โดเมนเละเรนจ์ของความสัมพันธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวปัทมาภรณ์ บุญมาดี คุณครูนวลทิพย์ นวพันธุ์ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ โดย นางสาวปัทมาภรณ์ บุญมาดี เสนอ คุณครูนวลทิพย์ นวพันธุ์

. มุม (angle) เรียกจุด B ว่าจุดยอด (vertex)ของมุม C  เรียกจุด B ว่าจุดยอด (vertex)ของมุม รังสี BA เรียกว่า ด้านเริ่มต้น (initial side) รังสี BC เรียกว่า ด้านสิ้นสุด (terminal side) ถ้าหมุนรังสี BA รอบจุด B ไปอยู่ในแนวของรังสี BC แล้วจะเกิดมุม 

มุมเป็นบวก มุมเป็นลบ (ตามเข็มนาฬิกา) (ทวนเข็มนาฬิกา) . A B C  มุมในตำแหน่งมาตรฐาน (Standard position) คือมุมที่มีจุดยอดอยู่ที่จุด (0,0) และด้านเริ่มต้นทับแกน x ทางด้านบวก x y .  o

. . . x y o x y o x y o ควอดแรนท์ หรือ จตุภาค  o มุม  อยู่ในควอดแรนท์ที่ 2 x y .  o มุม  อยู่ในควอดแรนท์ที่3 x y .  o มุม  อยู่ในควอดแรนท์ที่ 4 ,  < 0 ควอดแรนท์ หรือ จตุภาค quadrant =

ถ้า มุม  และ  มีด้านเริ่มต้นและด้านสิ้นสุดเหมือนกันแล้ว จะเรียกมุมทั้งสองว่า มุมร่วมแขนคู่(coterminal angles) ถ้า มุม  และ  มีผลบวกเท่ากับ 90 แล้ว จะเรียกมุมทั้งสองว่า มุมประกอบมุมฉาก(complementary angles) ถ้า มุม  และ  มีผลบวกเท่ากับ 180 แล้ว จะเรียกมุมทั้งสองว่า มุมประกอบสองมุมฉาก (supplementary angles)

หน่วยของการวัดมุม 1. องศา () มุมที่เกิดจาการหมุนด้านเริ่มต้นรอบจุดยอดในทิศทวนเข็มนาฬิกาไปจนกระทั่งกลับมาทับกับด้านเริ่มต้น(หมุนครบหนึ่งรอบ) เท่ากับ 360  1 (องศา) = 60 (ลิบดา) 1 (ลิบดา) = 60 (ฟิลิบดา) 1 (องศา) = 3600 (ฟิลิบดา)

2. เรเดียน (radian) 1 เรเดียน คือ มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมที่รองรับด้วยส่วนโค้งของวงกลมที่มีความยาวเท่ากับรัศมีของวงกลม ความยาวส่วนโค้งของวงกลม ถ้า 1=1 แล้ว s1= r และ หรือ

มุมที่จุดศูนย์กลาง( ) ของวงกลมรัศมี r ซึ่งรองรับด้วยส่วนโค้งของวงกลมที่มีความยาว s จะมีขนาดเท่ากับ

มุมที่เกิดจากการหมุนของรัศมีไปครบหนึ่งรอบ = เรเดียน (  = อัตราส่วนระหว่างความยาวเส้นรอบวงกลมกับความยาวเส้นผ่าศูนย์กลางของวงกลม)   3.1416

การแปลงระหว่างมุมในหน่วยองศาและมุมในหน่วยเรเดียน 360 (องศา) มีค่าเท่ากับ 2 เรเดียน ดังนั้น 1 องศา มีค่าเท่ากับ เรเดียน เรเดียน y เรเดียน องศา

วงกลมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด(0,0) และมีรัศมีเท่ากับหนึ่งหน่วย วงกลมหนึ่งหน่วย วงกลมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด(0,0) และมีรัศมีเท่ากับหนึ่งหน่วย x  o (x,y) (-1,0) (1,0) (0,1) (0,-1) 1

x y o (x,y) (-1,0) (1,0) (0,1) (0,-1) (+,+) (-,+) (+,-) (-,-)

พิกัดของจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว x y o P(x,y) A(1,0) B(0,1) b a

พิกัดของจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว y o P(x,y) A(1,0) P(-x,y) b a x

พิกัดของจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว y o P(x,y) b a B(0,1) P(x,-y) x

 P(x,y) (1,0) (0,1) (-1,0) (0,-1)

ฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ ให้ (x,y) เป็นจุดปลายส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วยที่ยาว || หน่วย ที่วัดจากจุด (1,0) และ ให้ f:ℝ→ℝ และ g:ℝ→ℝ โดยที่ สำหรับแต่ละจำนวนจริง  นิยามให้ f()=x และ g()=y เรียกฟังก์ชัน f ว่า ฟังก์ชันโคไซน์ (cosine) และแทน f ด้วย cos เรียกฟังก์ชัน g ว่า ฟังก์ชันไซน์ (sine) และแทน g ด้วย sin x=cos() และ y=sin()

โดเมนของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ คือ เซตของจำนวนจริง เรนจ์ของสองฟังก์ชันคือ เซตของจำนวนจริงที่อยู่ในช่วง[-1,1] และ x=cos() , y=sin() จาก ดังนั้นได้ หรือ

x y  o (x,y) (-1,0) (1,0) (0,1) (0,-1)

(เรเดียน) (องศา) P(x,y) cos  sin  0 (1,0) 1 90 (0,1) 180 (-1,0) 0 (1,0) 1 90 (0,1) 180 (-1,0) -1 270 (0,-1) 360 45 60 30

x o 2 y 

ค่าของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ของจำนวนจริงใดๆ x y o

y x o

(เรเดียน) (องศา) cos  sin  60 120 240 300

ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ ฟังก์ชันแทนเจนต์(tangent) เขียนแทนด้วย tan ฟังก์ชันซีแคนต์(secant) เขียนแทนด้วย sec ฟังก์ชันโคซีแคนต์(cosecant) เขียนแทนด้วย csc ฟังก์ชันโคแทนเจนต์(cotangent) เขียนแทนด้วย cot

สำหรับจำนวนจริง  ใดๆ นิยามให้ เมื่อ เมื่อ เมื่อ เมื่อ

ฟังก์ชัน โดเมน เรจน์ ไซน์ ℝ [-1,1] โคไซน์ แทนเจนต์ ซีแคนต์ ℝ-(-1,1) โคซีแคนต์ โคแทนเจนต์

สำหรับ n เป็นจำนวนเต็มใดๆ จำนวนรอบของการวัดมุม y x o n>0 วัดมุมในทิศทวนเข็มนาฬิกา n<0 วัดมุมในทิศทวนเข็มนาฬิกา

ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก b a c   y x o A B C D E 1 และ และ

c=ด้านตรงข้ามมุมฉาก a=ด้านตรงข้ามมุม  b= ด้านประชิดมุม  ด้านตรงข้ามมุม

สามเหลี่ยม 2 รูปจะคล้ายกัน ถ้ามุมที่สมนัยกันเท่ากันทั้ง 3 มุม B A C   b a c   สามเหลี่ยม 2 รูปจะคล้ายกัน ถ้ามุมที่สมนัยกันเท่ากันทั้ง 3 มุม อัตราส่วนของด้านคู่ที่สมนัยกันจะเท่ากัน

ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมใดๆ ให้ P(x,y) เป็นจุดใดบนด้านสิ้นสุดของมุม  ในตำแหน่งมาตรฐาน y x o P(x,y)  r  y x o A P(x,y) C r

เอกลักษณ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ

ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจำนวนจริงหรือมุม y x o (1,0)

y x o (1,0)