นาย ปพน เขียวชะอ่ำ 57690246 คณะ โลจิสติกส์ 901. * การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน ปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๕๐ มุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาที่ คงเหลือและสร้างความยั่งยืนในการแก้ไขปัญหายาเสพ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายด้านยาเสพติด 7 แผน 4 ปรับ 3 หลัก 6 เร่ง.
Advertisements

ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
ระบบเศรษฐกิจ.
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
เศรษฐกิจพอเพียง.
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
เศรษฐกิจพอเพียง.
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การค้ามนุษย์.
การค้ามนุษย์.
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
แนวคิด ในการดำเนินงาน
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
ตัวอย่าง นวัตกรรมทางการพยาบาล
การบริหารจัดการท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
สุขภาพจิต และการปรับตัว
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
การค้ามนุษย์.
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนความร่วมมือระหว่างประเทศ
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
โครงการมหกรรมกีฬาต้านยาเสพติด อบต.น้ำผุด คัพ ครั้งที่ 10 ประจำปี 2551
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 1 การวางแผนดูแลสุขภาพของ บุคคลในชุมชนและสังคม.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นาย ปพน เขียวชะอ่ำ คณะ โลจิสติกส์ 901

* การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน ปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๕๐ มุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาที่ คงเหลือและสร้างความยั่งยืนในการแก้ไขปัญหายาเสพ ติด ทุกพื้นที่ ทุกฐาน ทั้งชุมชน สถานศึกษา สถาน ประกอบการ และสามารถรักษาสถานภาพไม่ให้ปัญหา ยาเสพติดหวนกลับมารุนแรง โดยรัฐบาลพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายของ คณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ โดยเรื่องการแก้ไขปัญหายาเสพติด ปรากฏอยู่ในนโยบายของรัฐบาลในด้านสังคมและการ รักษาความมั่นคงของรัฐ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดยังคงมีความสำคัญ ซึ่งการ บรรลุภารกิจให้ลุล่วงได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด จะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และองค์กรต่างๆ โดยเฉพาะการเน้นใน เรื่องของการเฝ้าระวังและรักษาสถานภาพของ สถานการณ์ปัญหาไม่ให้ปัญหาหวนกลับ เพื่อสถาปนาค วามั่นคง สร้างความยั่งยืนในการแก้ไขปัญหาให้ประเทศ อย่างแท้จริง

เรื่อง หน้า ปัญหายาเสพติด 4- 7 แนวทางการแก้ไข 8

*. การระบาดของยาเสพติดที่แพร่หลายอยู่ในประเทศไทยเรา ขณะนี้เป็นปัญหาที่ดูเหมือนว่า จะไม่มีทางแก้ไขได้สำเร็จ การปราบปรามอย่างรุนแรงทั้งด้วยปืนของตำรวจและด้วย ปาก ของนักการเมือง ไม่มีทีท่าว่าจะหยุดยั้งการ แพร่กระจายของยาเสพติดที่แทรกแซง เข้าไปยัง ประชากร ทุกหมู่เหล่า ทุกเพศทุกวัยได้เลย ปริมาณยาเสพติดที่ยึดได้ หากนำมารวมกันทั้งหมดตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน น่าจะ นำไปใช้ ถมที่ดินเพื่อก่อสร้างสนามบินแห่งที่สอง เป็นการ ประหยัดทรายได้มิใช่น้อย * ปัญหายาเสพติดมิใช่ปัญหาของบ้านเราเท่านั้น แต่เป็น ปัญหาของทุกประเทศในโลก ต่างกันแต่เพียงระดับความ รุนแรงและประเภทของยาเสพติดเท่านั้น * การแก้ปัญหายาเสพติด จำเป็นต้องเข้าใจสาเหตุ และกลไก การเกิดปัญหา เพื่อที่จะได้ หาทางแก้ไขได้ครบวงจร มิใช่ ไปเน้นที่จุดใดจุดหนึ่งเท่านั้น * ปัญหายาเสพติดเป็นเรื่องที่สลับซับซ้อน มีความเกี่ยวข้อง ทั้งด้านชีววิทยา, สุขภาพจิต, อาชญากรรม, การเมือง, เศรษฐกิจและสังคม

* 1. ความต้องการฤทธิ์อันพึง ประสงค์ของยาเสพติ * สารใดก็ตามที่มีฤทธิ์แบบนี้ต่อผู้เสพ ย่อมทำให้เกิดการ เสพติดได้ทั้งสิ้น คนที่ดื่มเหล้าก็ต้องการให้เกิดอารมณ์ ครื้นเครง (euphoria) ยาเสพติดชนิดร้ายแรงสามารถทำ ให้เกิด ความรู้สึกเป็นสุข เคลิบเคลิ้มมากกว่าปกติ ที่ เรียกกันในภาษาอังกฤษว่า "high" หรือพวกติดยาเสพ ติดในบ้านเราเรียกว่า " พี้ " ในบรรดาสารเสพติดทั้งหลาย เฮโรอีนเป็นสารที่ทำให้เกิดฤทธิ์แบบนี้มากที่สุด เพราะ เป็นสารที่ร้ายแรงที่สุดในกลุ่มสารที่ทำจากฝิ่น ในทาง การแพทย์มีที่ใช้บ้างคือ ใช้มอร์ฟีนเป็นยาแก้ปวด ใน ผู้ป่วยที่มีอาการปวดรุนแรง เช่น หลังผ่าตัดหรืออาการ ปวดจากมะเร็งในระยะท้าย ๆ

* 2. บุคคลิกภาพของผู้ติดยาเสพติด * พื้นฐานทางจิตใจของคนแต่ละคนเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำ ให้บางคนหันไปพึ่งพายาเสพติด ตัวอย่างในกลุ่มคนที่ ดื่มสุรา บางคนดื่มเพียงเล็กน้อยโดยสามารถมีสติ พอที่จะหยุดดื่ม หรือผ่อนลง เมื่อรู้ว่าควรหยุด ในขณะที่ ผู้ติดสุราจะดื่มจนครองสติไม่ได้ และรู้สึกว่า ถ้าไม่ได้ดื่ม ถึงขีดนั้นก็อย่าดื่มเสียดีกว่า

* 3. พฤติกรรม การเลียนแบบ * ปัจจัยนี้เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับบุคลิกภาพ ค่านิยมของ สังคมและวัฒนธรรม กลุ่มคนที่มีพฤติกรรมเลียนแบบคน อื่นได้ง่ายได้แก่เด็กและคนที่ขาดเอกลักษณ์ของตนเอง หรือคนที่ไม่มีจุดยืนนั่นเอง

* จากผลการดำเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติดของ รัฐบาลทุกยุคทุกสมัย มีลักษณะการแก้ไขปัญหาที่ปลาย เหตุ แม้แต่รัฐบาลชุดปัจจุบันที่มีความตั้งใจจริง พยายามที่จะปราบปรามทั้งบนดินและใต้ดินเพื่อที่จะ ขจัดยาเสพติดให้หมดไปจากสังคมไทย แต่ปัญหา ดังกล่าวก็ยังคงทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็น แนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่าง ยั่งยืน ผู้เขียนขอเสนอแนวคิดในการแก้ไขปัญหานี้ใน ฐานะที่เป็นผู้ปฏิบัติงานในชุมชนระดับรากหญ้า มาตรการสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพ ติด สิ่งแรกที่ควรให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง คือ บทบาทของสถาบันทางสังคมไทยในระดับรากหญ้า ซึ่ง ประกอบด้วย สถาบันครอบครัว สถาบันชุมชน สถาบัน โรงเรียน และสถาบันศาสนา เพื่อเป็นการป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน ผู้เขียนขอแยก ประเด็นการป้องกันปัญหายาเสพติดกับประเด็นการ แก้ไขปัญหายาเสพติดออกจากกัน เพื่อให้สะดวกแก่ การเสนอแนวคิด

* *