A QUICK OVERVIEW OF PDP-8 ARCHITECTURE

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Datadictionary Prakan Sringam.
Advertisements

ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
Fast Page Mode DRAM (FPM DRAM) AND Extended-Data Output (EDO) DRAM
Introduction to C Programming
Register Allocation and Graph Coloring
สถาปัตยกรรมแบบ stack และ การผลิตโค๊ด
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
Central Processing Unit
CS Assembly Language Programming
Structure Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี อ.เลาขวัญ งามประสิทธิ์
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
อสมการ.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
PHP LANGUAGE.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Peopleware & Data บุคลากรและข้อมูล.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี อ.เลาขวัญ งามประสิทธิ์
Arrays.
EEE 271 Digital Techniques
Digital Logic and Circuit Design
Number Representations
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
Addressing Modes Assembly Programming.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
Register.
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
Functional components of a computer
Introduction to Cache Memory Systems
ตัวแปรและชนิดข้อมูล (Variables and Data Types)
ดีบักเป็นเครื่องมืออันหนึ่งที่ให้ผู้ใช้ ตรวจสอบ และแก้ไขค่าใน หน่วยความจำ โหลด เก็บ ตรวจสอบค่าในเรจิสเตอร์ และสามารถ เขียนโปรแกรมแอสเซมบลีได้อย่าง สะดวก.
ธนาวินท์ รักธรรมานนท์
CPU ไม่รวม I/O PROCESSOR , MATH CO-PROCESSOR
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
วิธีคำนวณการแบ่ง Subnet
Vm.odp. Detailed VM Example ตัวอย่างการทำงานของ page fault ISR ที่ จะสนับสนุนการทำงานของหน่วยความจำ เสมือน โดยการย้ายบิตที่ไม่จำเป็นออก จากหน้าเว็บ เนื่องจากว่ามันทำให้สับสน.
CH 9 หมายเลขไอพี และการจัดสรร
Chapter 4 หมายเลขไอพี และการจัดสรร
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
Lab.
โครงสร้างข้อมูลแบบรายการโยง (Link List)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Addressing Modes ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
Assembly Languages: PDP8
Chapter 11 Instruction Sets: Addressing Modes
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
Subroutine ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. Subrountine – คือส่วนหนึ่งของ code จากโปรแกรมทั้งหมด สำหรับปฏิบัติงานโดยเฉพาะ และเป็นอิสระ จาก code ส่วนอื่นของโปรแกรม ประโยชน์
Lab ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. Direct addressing รูปแบบนี้แต่ละคำสั่งสามารถอ้าง memory location ได้คือ –Current page –Page 0 การคำนวณ effective address ได้มาจากคำสั่ง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

A QUICK OVERVIEW OF PDP-8 ARCHITECTURE ธนวัฒน์ แซ่เอียบ

Memory หน่วยความจำของ PDP-8 มีทั้งหมด 4096 word แต่ละ word มีขนาด 12 บิต คำนวณได้จากจำนวนบิตที่ใช้เป็น address มีขนาด 12 บิตด้วยเช่นกันจึงสามารถชี้ตำแหน่งหน่วยความจำได้ทั้งหมด 212 = 4096 location แต่ละ location ที่พื้นที่จัดเก็บเท่ากับ 12 บิต หรือ 1 word ลำดับบิตใน word เรียงจากซ้ายไปขวา (0-11) บิตตำแหน่งที่ 0 เป็น most significant bit (มีค่ามากที่สุดคือ 212=4096)

Memory หน่วยความจำแบ่งออกเป็น 32 pages แต่ละ pages มี 128 word จำนวนบิต 12 บิตถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นจำนวน page ขนาด 5 บิต (25=32) บิตตำแหน่งที่ 0 ถึง 4 ส่วนที่สองเป็นตำแหน่งภายใน page นั้นเรียกว่า offset ขนาด 7 บิต (27=128) บิตตำแหน่งที่ 5 ถึง 12 page offset

Memory 0-12710 12810-25510 396710-409510 Page 0 สงวนไว้จัดเก็บข้อมูล 00000 0000000 00000 1111111 00001 0000000 00001 1111111 11111 0000000 11111 1111111 Page 0 สงวนไว้จัดเก็บข้อมูล Page 1 จุดเริ่มของคำสั่ง (instruction) อาจใช้จัดเก็บข้อมูลก็ได้ Page 31 Page สุดท้ายของคำสั่ง

Memory ตัวอย่าง address ที่ 02008 = 0000100000002 ส่วนที่เป็น page คือ 000012 =110 ส่วนที่เป็น offset คือ 00000002 =010 เหตุผลที่มีการแบ่งออกเป็น page และ offset เพื่อเป็นรูปแบบในการอ้างถึงหน่วยความจำ (memory reference) ข้อดี สามารถเปลี่ยนข้อมูลส่วนที่เป็น page เป็น opcode ได้ และถ้า opcode นั้นตามด้วย location สามารถอ้างถึง location เพื่อดึงค่าที่เก็บอยู่ใน page นั้นได้ ซึ่งใช้บิตในการอ้างถึงตำแหน่งเพียง 7 บิตเท่านั้น (ไม่ต้องใช้บิตทั้ง 12 บิต) (ในกรณีข้าม page จะมีรูปแบบที่ต่างออกไป)

Register accumulator(AC) 1 ตัวขนาด 12 บิตและมี link register (L) ขนาด 1 บิตไว้ทดค่าจากการคำนวณของ accumulator Multiply-quotient register (MQ) ขนาด 12 บิตใช้สำหรับการคูณและการหาร Program counter (PC) ขนาด 12 บิตซึ่งจัดเก็บตำแหน่งถัดไปของคำสั่งที่จะถูกปฏิบัติงาน Instruction register(IR) ขนาด 3 บิต Memory address register (MAR) ขนาด 12 บิต Memory Data(Buffer) register (MDR) ขนาด 12 บิต CPU ใช้ MAR และ MDR ในการเข้าถึงหน่วยความจำจากการระบุตำแหน่งและการะบุค่าเพื่อเขียนหรืออ่าน

Register Special purpose register (SR) ขนาด 12 บิตใช้สำหรับนำเข้าข้อมูลโดยตรงจาก console ของ PDP-8 Console ของ PDP-8

Register L AC SR MQ IR MDR MAR ? PC address content

Instruction page offset Memory reference

Instruction

Instruction

Instruction

ที่มา BRIAN J. SHELBURNE, A PDP-8 Emulator Program, Wittenberg University