สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด และยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
บทเรียนการดำเนินการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ แบบครบวงจร
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
แผนพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ คำของบประมาณปี 2559 สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ วันที่ 25 ธันวาคม 2557 ณ ห้องประชุมประเมิน จันทวิมล กรมควบคุมโรค

ตามแนวโน้มในปัจจุบัน จำนวนผู้เสียชีวิตจากยาสูบทั่วโลกจนถึงปีค. ศ ตามแนวโน้มในปัจจุบัน จำนวนผู้เสียชีวิตจากยาสูบทั่วโลกจนถึงปีค.ศ.2050 จะเท่ากับ 520 ล้านคน ถ้าเราลดเด็กที่จะติดบุหรี่ใหม่ได้ครึ่งหนึ่งภายในปี ค.ศ. 2020 จำนวนผู้เสียชีวิตจากยาสูบจนถึงค.ศ.2050จะเท่ากับ500 ล้านคน คือลดลงเพียง 20 ล้านคน แต่ถ้าเราลดผู้ใหญ่ที่ติดบุหรี่ลงได้ครึ่งหนึ่งภายในปี ค.ศ. 2020จำนวนผู้เสียชีวิตจากยาสูบ จนถึงปี ค.ศ. 2050 จะเท่ากับ 340 ล้านคน นั่นคือ คนเสียชีวิตจากยาสูบจะลดลง 180 ล้านคน หากเราช่วยให้คนที่ติดบุหรี่อยู่แล้วลดลงได้ครึ่งหนึ่ง จะเห็นได้ว่าต่างกันมากเลยกับที่เราจะเน้นเพียงป้องกันไม่ให้เด็กเข้ามาติดบุหรี่ใหม่ เราจึงต้องช่วยกันรักษาโรคเสพติดบุหรี่ให้มากยิ่งๆขึ้น

สถานการณ์การบริโภคยาสูบของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ข้อค้นพบ 2 ประเด็นที่สำคัญ 1) การบริโภคยาสูบของประชากรไทยโดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นมีอัตราเพิ่มขึ้น และคนในชนบทยังสูงกว่าในเมือง 2) การได้รับควันบุหรี่มือสองของประชากรอยู่ในระดับสูง ยาสูบเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่เป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังหลายชนิด เช่น โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง/มะเร็งปอด/โรคหัวใจขาดเลือด แต่เป็นปัจจัยเสี่ยงที่สามารถหลีกเลี่ยงและป้องกันได้ สถานการณ์แนวโน้มของการบริโภคยาสูบในประเทศไทย พบว่า ในช่วงแรก (ปี พ.ศ.2534-2550) ประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีอัตราการสูบบุหรี่ลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วงหลัง (ปี พ.ศ.2550-2556) อัตราการสูบบุหรี่มีแนวโน้มค่อนข้างคงที่และกลับเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.36 ในปี พ.ศ.2554และลดลงในปีปัจจุบัน (พ.ศ.2556) ร้อยละ 19.94 (รูปที่ 1) จากการสำรวจอัตราการบริโภคยาสูบจำแนกตามเพศ พบว่า ในช่วงปี พ.ศ.2552 เป็นต้นมา เพศหญิง มีอัตราการบริโภคยาสูบสูงเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ร้อยละ 2.01 จากที่เคยต่ำสุดในปี พ.ศ.2550 ร้อยละ 1.94 และ ในเพศชาย พบว่า มีอัตราการบริโภคยาสูบลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่กลับเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในปี พ.ศ.2554 ร้อยละ 41.69 และลดลงในปี พ.ศ.2556 เป็นร้อยละ 39.00 ดังนั้นมาตรการที่ใช้ได้ผลในปี พ.ศ. 2534 – 2550 มีประสิทธิภาพไม่เพียงพอ ที่นำมาใช้แก้ปัญหาในปัจจุบันจึงทำให้ไม่สามารถลดการสูบบุหรี่ในช่วงปี พ.ศ. 2550 – 2556 ลงได้

พื้นที่เป้าหมาย อัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบัน ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป อัตราการสูบบุหรี่ในกลุ่มวัยรุ่นอายุ 15 - 18 ปี อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสอง ของประชาชน

เป้าหมายการดำเนินงานปี 2559 1. ลดการบริโภคยาสูบของประชาชนโดยเฉพาะวัยรุ่นและคนในชนบท 2. ทำให้สถานที่สาธารณะและสถานที่ทำงานปลอดควันบุหรี่ เพื่อลดการ ได้รับควันบุหรี่มือสอง เป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ปี 2559 อัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ร้อยละ 18.3 อัตราการสูบบุหรี่ในกลุ่มวัยรุ่นอายุ 15 - 18 ปี (ตัวชี้วัดเขตสุขภาพ) ไม่เกินร้อยละ 9 อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองของประชาชน ลดลงร้อยละ 10 จากปี พ.ศ. 2557 จากเป้าหมายขององค์การอนามัยโลกในเรื่องโรงไม่ติดต่อเรื้อรังระดับโลก (9 Voluntary Global NCD targets for 2010-2025 ) ที่ต้องการให้ ในปี พ.ศ. 2568 ลดการบริโภคยาสูบลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 จากปัจจุบัน สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบจึงได้กำหนดเป้าหมายรายปีซึ่งลดทอนมาจากเป้าหมายระดับโลกโดยในปี พ.ศ. 2568 อัตราการบริโภคยาสูบในปัจจุบันต้องเป็นร้อยละ 14.7 ดังนั้นจึงกำหนดอัตราการบริโภคยาสูบให้ลดลงจากร้อยละ 19.6 ในปี พ.ศ. 2556 เหลือ 18.9 ในปี พ.ศ. 2558 สำหรับการสูบบุหรี่ในวัยรุ่นนั้น เนื่องจากปี 2544 – 2554 มีแนวโน้มที่สูงขึ้น โดยในปี พ.ศ. 2554 อยู่ที่ร้อยละ 9.2 ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10 จึงตั้งเป้าให้ไม่เกิน ร้อยละ 10 ในปี 2558 สำหรับอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองของประชาชนที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติฉบับที่สอง พ.ศ. 2558 – 2562 กำหนดเป้าหมายอัตราการได้รับควันบุหรี่ของประชาชนลดลงร้อยละ 25 จากปี 2557 ภายในปี 2562 เฉลี่ยลดลดร้อยละ 5 ต่อปี ดังนั้นจากข้อมูลในปัจจุบันซึ่งมีในปี 2554 จึงกำหนดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองของประชาชนลดลดร้อยละ 20 จากปี 2554

2. พัฒนาระบบ เฝ้าระวัง การบริโภคยาสูบ ในกลุ่มเสี่ยง มาตรการ/กิจกรรมสำคัญ และ งบประมาณ (21,761,500 ลบ.) โครงการเสริมสร้าง พัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชนฯในสถานศึกษา (3.2 ลบ.) (-นิเทศ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สนับสนุน ให้คำปรึกษา รร.ปลอดบุหรี่ (สคร.) โครงการพัฒนาแกนนำเยาวชนเครือข่ายเฝ้าระวัง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเชิงรุกในชุมชน(4.31 ลบ.) -พัฒนาศักยภาพเครือข่ายเยาวชน/ถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ผลิตสื่อ/สนับสนุนการดำเนินงาน(สคร) โครงการพัฒนาระบบคัดกรอง ลด เลิกยาสูบ ในระบบบริการสุขภาพ และส่งต่อ(1.5 ลบ.) (- สร้างกลไก ขับเคลื่อนให้มีการคัดกรองผู้ป่วยNCD /จัดทำแนวทาง / จัดทำระบบส่งต่อ -ขับเคลื่อน /ติดตามประเมินผลในสถานบริการสุขภาพและส่งต่อ /สนับสนุนการดำเนินงาน (สคร.) โครงการพัฒนาระบบบริการและส่งต่อการเลิกบุหรี่สำหรับนักเรียน(1.5 ลบ.) (- เสวนา/จัดทำแนวทาง/บูรณาการ จัดทำระบบส่งต่อ -พัฒนาศักยภาพ/สนับสนุนการดำเนินงาน (สคร.) 1. งบบูรณาการกลุ่มวัย 11.79 ลบ. - วัยทำงาน 1.5 ลบ. - วัยรุ่น 10.29 ลบ. 2. Function 11.4715 ลบ. พัฒนากลไก ขับเคลื่อน ลดเลิกยาสูบ พัฒนาแกนนำ/เครือข่ายเยาวชน/สร้างความร่วมมือ รร.ปลอดบุหรี่ มาตรการสำคัญ 2. พัฒนาระบบ เฝ้าระวัง การบริโภคยาสูบ ในกลุ่มเสี่ยง 3.พัฒนากลไก สนับสนุน การลดเลิกยาสูบและการส่งต่อ ผลลัพธ์ วัยรุ่นมีความรู้เรื่องเพศศึกษา / พฤติกรรมเสี่ยง 1.พัฒนานโยบาย สร้างความร่วมมือ และสื่อสารปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โครงการพัฒนาและบริหารจัดการระบบเฝ้าระวังฯ(0.88 สบ.) (สำรวจข้อมูลยาสูบวัยรุ่นและกลยุทธ์อุตสาหกรรมฯรอบสถานศึกษา สื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เนื่องในวันงดสูบบุหรี่โลก (3.4575ลบ.) (-พัฒนาการสื่อสาร ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมยาสูบ/ จัดกิจกรรมรณรงค์สื่อสาร/ผลิตสื่อ/สนับสนุนการจัดกิจกรรม(สคร.)) พัฒนาระบบ เฝ้าระวัง โครงการพัฒนาและบริหารจัดการระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (1.364 ลบ.) (- สำรวจข้อมูลเพื่อเฝ้าระวัง/พัฒนาศักยภาพเพื่อดำเนินการเฝ้าระวัง) โครงการพยากรณ์สถานการณ์ แนวโน้มฯ การบริโภคยาสูบ(0.15 ลบ) (การพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพที่เสี่ยงจากยาสูบ) สร้างความร่วมมือ/เพิ่มผู้ขับเคลื่อนในพื้นที่ พัฒนานโยบายและระบบติดตามประเมินผล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาตรการหลักที่ 1 เพิ่มกลไก พัฒนานโยบาย ดำเนินมาตรการกฎหมาย และพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมการบริโภคยาสูบ มาตรการย่อย 1.1 เพิ่มกลไกและพัฒนานโยบายสาธารณะ กฎหมาย ที่เอื้อต่อการควบคุมยาสูบ โครงการ 1 (จากมาตรการ 1.1 )โครงการศึกษา ค้นคว้า พัฒนาวิชาการและจัดการองค์ความรู้ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สคส. มาตรการย่อย 1.2.1 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง โครงการ 2 (จากมาตรการ 1.2.1 )โครงการพัฒนาและบริหารจัดการระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สคส. มาตรการย่อย 1.2.2 เพิ่มประสิทธิภาพบังคับใช้กฎหมาย โครงการ 3 (จากมาตรการ 1.2.2 )โครงการเสริมสร้างศักยภาพ พัฒนาความร่วมมือและสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในการดำเนินงานควบคุมการบริโภคยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สคส. มาตรการย่อย 1.3 เพิ่มผู้ขับเคลื่อนการควบคุมยาสูบในระดับพื้นที่ จังหวัด และท้องถิ่น มาตรการย่อย 1.4 สื่อสาร ให้ความรู้ เพื่อควบคุมการบริโภคบุหรี่ในพื้นที่ มาตรการที่ 2 เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการบริโภคยาสูบในกลุ่มวัยรุ่น มาตรการย่อย 2.1 สร้างและพัฒนาแกนนำครูพี่เลี้ยง/เครือข่ายเยาวชนในการเฝ้าระวังแบบมีส่วนร่วม มาตรการย่อย 2.2 เสริมสร้างความร่วมมือให้มีการดำเนินการโรงเรียนปลอดบุหรี่ มาตรการหลักที่ 3 พัฒนากลไกสนับสนุนให้มีการดำเนินการเพื่อให้ลด เลิกยาสูบ ในระบบบริการสุขภาพ มาตรการย่อย 3.1 พัฒนากลไกในการขับเคลื่อนการการดำเนินการเพื่อลด เลิก การบริโภคยาสูบในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ มาตรการย่อย 3.2 พัฒนา/ขับเคลื่อนให้มีการบริการช่วยเลิกบุหรี่ โครงการ 4 (จากมาตรการ 1.3,1.4,2.1,2.2,3.1,3.2) โครงการบูรณาการพัฒนาด้านสุขภาพ สคส. โครงการพัฒนากลไกการขับเคลื่อน และติดตามประเมินผลการดำเนินงานควบคุมยาสูบภาพรวมและระดับเขต (2.5 ลบ.) (-พัฒนานโยบาย/สร้างและพัฒนาจุดจัดการควบคุมยาสูบนำร่อง ระดับเขต(System manager)/จัดทำแนวทาง พัฒนาระบบ และดำเนินการติดตามผลการดำเนินงานควบคุมยาสูบในระดับพื้นที่) โครงการป้องกันพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในเยาวชน ฯ(0.4 ลบ.) -ให้ความรู้/สร้างทักษะการปฏิเสธ รู้เท่าทันอุตสาหกรรมยาสูบ โครงการพัฒนาศักยภาพ สร้างความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการดำเนินงานควบคุมยาสูบระดับเขต (3.5 ลบ.) (-พัฒนาแนวทางทีมต้นแบบ/พัฒนาศักยภาพในทีมต้นแบบ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ /สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ (สคร.))

ผลผลิต จำนวนนโยบาย มาตรการเพื่อควบคุมยาสูบ 3 เรื่อง ระบบการเฝ้าระวังเพื่อควบคุมยาสูบ 1 ระบบ ร้อยละของจำนวนสถานศึกษาที่ร่วมดำเนินการสถานศึกษาปลอดบุหรี่ตามเกณฑ์ที่กำหนด(ร้อยละ 60) จำนวนเครือข่ายเยาวชนในการเฝ้าระวังแบบมีส่วนร่วม (อย่างน้อย 3 เครือข่าย/เขต) ไม่น้อยกว่า 36 เครือข่าย สถานศึกษาต้นแบบมีบุคลากรที่สามารถให้บริการเลิกบุหรี่กับนักเรียน และส่งต่อสู่สถานบริการได้อย่างน้อย 3 แห่ง/เขต (ไม่น้อยกว่า 50 แห่ง) ร้อยละ 80 ของ รพศ./รพท./รพช. และร้อยละ 20 ของ รพ.สต. มีการให้บริการช่วยเลิกบุหรี่ แนวทางเพื่อสร้างเสริมทักษะการปฏิเสธ และจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องการรู้เท่าทันอุตสาหกรรมยาสูบ 1 เรื่อง จำนวนเครือข่ายต้นแบบเพื่อควบคุมยาสูบระดับเขตสุขภาพ 4 เขต และระดับจังหวัด (สคร. ดำเนินการร้อยละ 50 ของจังหวัดในเขตรับผิดชอบ)

การติดตามประเมินผล การสำรวจ ของ NSO / BSS นิเทศติดตามผลการดำเนินงาน โดย สคร. รายงานผลการดำเนินงานรายไตรมาส ในระบบ ESM