เทคนิคการรวบรวมข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
Advertisements

การเขียนบทความ.
การเขียนผลงานวิชาการ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
การสัมภาษณ์.
ข้อแนะนำในการนำเสนอโครงการ
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การสัมภาษณ์ อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข้อแนะนำในการนำเสนอโครงการ
Thesis รุ่น 1.
 การสอนแบบอภิปราย.
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
หลักการพัฒนา หลักสูตร
บทที่ 6 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
เทคนิคการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การสื่อสารเพื่อการบริการ
การอ่านและวิเคราะห์ SAR
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
การรับมือ และ การสร้างความพึงพอใจ ให้แก่ผู้รับบริการ
การจัดกระทำข้อมูล.
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
ขั้นตอนที่ 5 การนำเสนอแฟ้มผลงาน (Portfolio)
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
บทนำ บทที่ 1.
การเขียนรายงานการวิจัย
เทคนิคการสืบสวนและสอบสวน
เทคนิคการพูดและการนำเสนอ
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การนำเสนอรายงานปากเปล่า (oral presentation)
รูปแบบการสอน.
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
เทคนิคการนำเสนอข้อมูลด้วยวาจา
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
สรุปการบรรยายของวันที่ 25 กุมภาพันธ์ Evaluation of Global Health การสืบค้นองค์กรนานาชาติว่ามีองค์กรใดบ้างที่ให้ การสนับสนุนในด้านสุขภาพ เช่น 0.7.
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
(Demonstration speech)
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
เวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
รายงานผลการวิจัย.
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ 1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้วผู้เข้ารับการ.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคนิคการรวบรวมข้อมูล รศ.ดรุณ หาญตระกูล

ก. เทคนิคการสัมภาษณ์ เตรียมประเด็นคำถามล่วงหน้า (ไม่ใช่ถามไปเรื่อยๆ) 2. สร้างบรรยากาศการสัมภาษณ์ให้เป็นกันเอง (กัลยาณมิตร) 3. ควรใช้คำถามปลายเปิด (เพื่อหลีกเลี่ยงการชี้นำ) 4. บางครั้งอาจต้องใช้การสัมภาษณ์อย่างเป็นทางการ

ก. เทคนิคการสัมภาษณ์ (ต่อ) 5. ควรบันทึกสั้นๆขณะสัมภาษณ์ (อาจบันทึกอากัปกริยาของผู้ให้การ สัมภาษณ์ด้วย) 6. ข้อควรคำนึงตลอดเวลาในการสัมภาษณ์ -ไม่มีผู้ใดชอบการตรวจสอบ -ไม่มีผู้ใดต้องการให้ข้อบกพร่องถูกตรวจพบในสถาบันการศึกษาตนเอง - ผู้ให้ข้อมูลทุกคนมีความรู้สึก ความวิตกกังวล ความกลัว ความตื่นเต้น ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง จะมีปฏิกิริยา คือ...

ก. เทคนิคการสัมภาษณ์ (ต่อ) - ตอบไม่ตรงคำถาม - ค้นหาเอกสารที่ผู้ประเมินต้องการไม่พบ - ตอบในสิ่งที่ตนเองไม่ได้ทำ 7. ให้รู้สึกเป็นการร่วมมือกันช่วยกันค้นหาข้อบกพร่องหรือจุดอ่อน เพื่อพัฒนาคุณภาพให้ดียิ่งขึ้น (เต็มใจ รู้สึกการประเมินมีคุณค่าและเป็นประโยชน์)

ท่าทาง/คำถามที่พึงระวัง ในการสัมภาษณ์ 1. คำถามชวนทะเลาะ : รู้สึกถูกกล่าวหา หรือเป็นฝ่ายผิด 2. ท่าทีกระหยิ่มยิ้มย่องเมื่อตรวจพบข้อบกพร่อง 3. ท่าทียกตนข่มท่าน หรือยัดเยียดความคิดเห็นส่วนตัวให้ผู้ให้ข้อมูลว่าต้องทำท่าอย่างนั้น อย่างนี้ แทนที่จะชี้ให้เห็นเพียงสภาพจริงที่เกิดขึ้น 4. แสดงกิริยาที่ไม่สุภาพ/ไม่ให้เกียรติผู้ให้ข้อมูล

เทคนิคการตั้งคำถาม/ข้อสงสัย 1. เตรียมประเด็นคำถาม และถามตามประเด็น 2. ตั้งคำถามที่ชัดเจน เข้าใจง่าย ตรงประเด็น 3. ถามให้ตรงกับผู้รับผิดชอบ 4. ควรใช้คำถามปลายเปิด ไม่ควรใช้คำถามเชิงชี้นำ 5. ไม่ถามเชิงเปรียบเทียบกับสถานศึกษาอื่น 6. ไม่ถามคำถามที่ทำให้เกิด ถามแตกแยกในหน่วยงาน

เทคนิคการตั้งคำถาม/ข้อสงสัย (ต่อ) 7. ค้นหาคำตอบทางอ้อมโดยการพูดคุย ควรเตรียมคำถามไว้ก่อนล่วงหน้า เพื่อไม่ให้เกิดการซ้ำซ้อน 9. ตั้งคำถามเชิงสร้างสรรค์ 10.ถามให้สั้น ฟังให้มาก และจดบันทึก 11.ตั้งคำถามให้ตรงกับมาตรฐานที่จะ ตรวจสอบ 12.ไม่ถามประเด็นที่มีหลักฐานชัดเจน หรือรู้ชัดแล้ว

ข. เทคนิคการสังเกต 1. กำหนดประเด็นในการสังเกตสถานการณ์หนึ่งๆให้ชัดเจน 2. คำนึงอยู่เสมอว่าสังเกตในประเด็นต่างๆเพื่อสรุปผลในมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ใด 3. การสังเกตแต่ละห้องเรียน ควรใช้เวลาประมาณ 20 นาที โดยดูให้ครอบคลุมทุกชั้น ทุกกลุ่มสาระ

ข. เทคนิคการสังเกต (ต่อ) 4. ข้อควรคำนึงของการสังเกต - สิ่งที่เห็นอาจไม่ใช่สิ่งที่เป็นจริง : การเดินแถว , การเคารพธงชาติ - อย่าด่วนสรุปจากสิ่งที่เห็น : สภาพการเรียน การสอน - อย่ามองข้ามสิ่งเล็กน้อย : สีหน้าท่าทีของนักเรียนในชั้น , แผนการสอน, สื่อ - มองให้ทะลุ : การใช้บริการในห้องสมุด - มองอย่างเป็นกลาง : ตีความร่วมกับข้อมูลจากแหล่งอื่น

ค. เทคนิคการวิเคราะห์เอกสาร 1. อ่านให้เห็นภาพรวมของเอกสาร 1 รอบ 2. ควรทำความเข้าใจนิยามศัพท์ที่สถานศึกษาใช้ให้มากที่สุด 3. อ่านในส่วนสาระโดยละเอียด 4. จุดที่ไม่ชัดเจนที่พบในเอกสารควรบันทึกเพื่อสอบถาม/เก็บข้อมูลด้วยวิธีอื่นต่อไป 5. อ่านอย่างวิเคราะห์ โดยให้เชื่อมโยงกับประเด็นการตรวจสอบและเอกสารประกอบอื่นๆ

ข้อบกพร่องในการวิเคราะห์เอกสาร 1. ใช้เวลาอ่านมากเกินไป 2. ไม่ทราบว่าจุดใดคือประเด็นที่สำคัญควรค้นหา หรือควรขอดู 3. อ่านเสร็จแล้วลืมจดบันทึกไว้เป็นหลักฐานอ้างอิง 4. มักจะพอใจแต่เพียงการมีอยู่ของเอกสาร ไม่ได้ศึกษาลงไปในรายละเอียด 5. ขาดความเป็นคนช่างสังเกต ช่างคิด

ง. เทคนิคการเขียนแบบสอบถาม กำหนดขอบข่ายของสิ่งที่จะถาม : ให้ชัดเจนและครอบคลุมเป็นหัวข้อใหญ่ 2. กำหนดข้อคำถามในแต่ละด้าน : ที่จะเป็นและสำคัญ 3. พิจารณาและจัดลำดับข้อคำถาม : ความชัดเจน และเหมาะสม 4. จัดวางรูปแบบและคำชี้แจง

ง. เทคนิคการเขียนแบบสอบถาม (ต่อ) 5. ควรมีการประเมินแบบสอบถามก่อนนำไปใช้ - ข้อความที่ใช้มีความชัดเจนเพียงใด ควรแก่การถามหรือไม่ คำถามนั้นตีความได้หรือไม่ และครอบคลุมครบถ้วนหรือไม่ - รูปแบบเหมาะสมชัดเจนหรือไม่ ให้ความสะดวกมากน้อยเพียงใด - คำชี้แจง ละเอียดพอหรือไม่

จ. เทคนิคการรายงานผลการประเมิน ด้วยวาจา 1. จุดมุ่งหมายและประโยชน์ 1.1 เพื่อให้เกิดการสื่อสาร 2 ทาง 1.2 มีโอกาสที่จะตอบข้อซักถาม อธิบายเพิ่มเติม จนเข้าใจชัดเจนได้ 1.3 ผู้บริหารสามารถทำความเข้าใจในผลการประเมินได้อย่างรวดเร็ว 1.4 ผู้ประเมินสามารถสรุปผลงานและยุติการประเมินนั้นได้อย่างรวดเร็ว

2. เนื้อหาของรายงาน ..หลักที่สำคัญ 3 ประการ.. 2.1 ความถูกต้องครบถ้วน : ครบตามวัตถุประสงค์ 2.2 ความต่อเนื่อง : เรียงลำดับน่าสนใจ เข้าใจง่าย 2.3 ความกลมกลืน : ข้อมูลต่าง ๆ ไม่ขัดแย้งกัน

3. ข้อควรปฏิบัติ : รายงานด้วยวาจา 3.1 มีการเตรียมแผนการนำเสนออย่างดี 3.2 ใช้อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ แผนภูมิ ช่วย 3.3 เริ่มต้นการรายงานให้น่าสนใจ (เราจะบอกอะไรแก่เขา) 3.4 ให้ใช้วิธีพูดกับผู้รับฟังรายงาน

3. ข้อควรปฏิบัติ : รายงานด้วยวาจา (ต่อ) 3.5 หันหน้าให้ผู้ฟังตลอดเวลา (สังเกต อ่านปฏิกิริยาของผู้ฟังได้) 3.6 ระมัดระวังบุคลิกภาพของผู้บรรยาย - การแต่งกาย - การพูด - ท่าทาง