โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านบึง
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
"กิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อลด ละ เลิก อบายมุข"
Information Technology Code (21241) Teacher name Ms pimpon petin
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
( Organization Behaviors )
อารมณ์และความต้องการของวัยรุ่น
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
สหกรณ์การเกษตรสามง่าม จำกัด
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การรายงานและการประเมิน ด้านที่ ๓
( Organization Behaviors )
สุขภาพจิต และการปรับตัว
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
สุขภาพใจ เรื่องใกล้ตัว
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
ขวา ซ้าย.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
๓. ด้านการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน.
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
การอ่านเชิงวิเคราะห์
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
การเขียน.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
วงจรของการเห็นคุณค่าแห่งตน
บทบาทสมมติ (Role Playing)
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การเขียนโครงการ.
A.L.T.C. 12/1 เสฏฐนันท์ อังกูรภาสวิชญ์ L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์ ปรัชญาแนะแนว โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์

ปรัชญาแนะแนว ๑. คนทุกคนมีคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว สังคม ฯลฯ ในฐานะที่จะสร้างคุณ สร้างประโยชน์ให้แก่ฝ่ายต่างๆ ได้ ๒. คนทุกคนมีศักดิ์ศรีในความเป็นคน ๓. คนมีความแตกต่างระหว่างบุคคล ๔. คนควรได้รับการส่งเสริมพัฒนาในทุกด้าน ตามศักยภาพอย่างเหมาะสม ๕. คนควรมีสิทธิ์ตัดสินใจเลือกการพัฒนาแก้ปัญหาของตนเอง

เป้าหมายของการแนะแนว ๑. การส่งเสริมและพัฒนา ๒. การป้องกัน ๓. การแก้ไขปัญหา

หลักการปรึกษาเชิงจิตวิทยา เป็นกระบวนการเชิงจิตวิทยา ที่ช่วยให้ผู้คนที่มีปัญหาทางจิตใจ หรือปัญหาทางกาย ซึ่งมีผลกระทบเนื่องมาจากสภาวะทางจิตใจ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับตัวของตน สิ่งแวดล้อมของตน วิธีที่ตนจะแสดงบทบาทได้อย่างเหมาะสม และเรียนรู้วิธีการในการมีความสัมพันธ์กับผู้อื่นได้อย่างราบรื่น กระบวนการดังกล่าว จะช่วยให้บุคคลสามารถตั้งเป้าหมายเพื่อการตัดสินใจ และแก้ไขปัญหาของตนที่เกี่ยวกับ การศึกษา อาชีพ และส่วนตัว สังคมได้ (Hansen, Rossbergt Cramer, 1994)

องค์ประกอบที่สำคัญของการให้บริการปรึกษา ผู้ให้การปรึกษา สภาพแวดล้อมทางกายภาพ กระบวนการ การให้บริการปรึกษา สภาพแวดล้อมทางจิตภาพ ผู้รับการปรึกษา

ทฤษฎีการปรึกษาที่ใช้ในการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา ๑. กลุ่มทฤษฎีการปรึกษา ที่เน้นความคิดและเหตุผล ๑.๑ ทฤษฎีการปรึกษาแบบวิเคราะห์ลักษณะบุคคลและองค์ประกอบ (Trait-Factor Counseling) ๑.๒ ทฤษฎีการปรึกษาแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม (Rational Emotive Behavior Theory (REBT)) ๑.๓ ทฤษฎีการปรึกษาแบบวิเคราะห์สัมพันธภาพ (Transectional Analysis in Psychotherapy)

กลุ่มทฤษฎีการปรึกษาที่เน้นอารมณ์และความรู้สึก ๒.๑ ทฤษฎีการปรึกษาแบบจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) ๒.๒ ทฤษฎีการปรึกษาแบบผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง (Person-Centered Theory) ๒.๓ ทฤษฎีการศึกษาแบบเกสตัลท์ (Gestalt Theory) ๒.๔ ทฤษฎีการปรึกษาแบบภวนิยม (Existential Psychotherapy)

๓. กลุ่มทฤษฎีการปรึกษาที่เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓.๑ ทฤษฎีการปรึกษาแบบพฤติกรรมนิยม (Behavior Therapy) ๓.๒ ทฤษฎีการปรึกษาแบบเผชิญความจริง (Reality Therapy)

๔. ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัว ๔.๑ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบพลวัตรทางจิต (Psychodynamic Model) ๔.๒ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบการเชื่อมโยงระหว่างรุ่น (Transgenerational Model) ๔.๓ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบประสบการณ์นิยม (Experiential Model)

(ต่อ) ๔.๔ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบโครงสร้าง (Structural Model) ๔.๕ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบกลยุทธ์(Strategic Model) ๔.๖ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบระบบมิลาน (The Milan Systemic Model) ๔.๗ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบพฤติกรรมการรู้คิด-พฤติกรรม (Behavioral and Cognitive – Behavioral Models)

(ต่อ) ๔.๘ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบที่เน้นคำตอบ (Solution – Focused Therapy) ๔.๙ ทฤษฎีการปรึกษาครอบครัวตามรูปแบบการศึกษาเชิงจิตวิทยา (Psychoeducational Model)

ขอขอบคุณ