ขาของแมลง (Insect Legs)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
Advertisements

ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
Insect Antennae.
ความทุกข์ที่เกินทน จะหลอมคนให้ทนทาน
เกียรติแห่งความเป็นมนุษย์ มิได้อยู่ที่ไม่เคยพ่ายแพ้เลย
เครื่องดนตรีไทย นางสาวสุชาวดี เจริญธรรม ม.4/1 เลขที่ 20.
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
การเจริญเติบโตของมนุษย์
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
บทที่ 4 สื่อบันทึกข้อมูล
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
หนอนพยาธิ (Helminth).
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เลื่อยมือ hack saw.
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
วิวัฒนาการ เต่าทะเล.
วิวัฒนาการของ แมลงปอ.
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
เครื่องดูดฝุ่น.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
MY DOGS MY LOVE จัดทำโดย นางสาวณัฐพร แสงอรุณ
ใบไม้.
การจำแนกวงศ์ ในอันดับโอโดนาต้าและออร์ทอพเทอร่า
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
การจำแนกวงศ์ในอันดับโคลีออพเทอร่า
ปีกของแมลง (Insect Wings)
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง
Next.
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
การเจริญเติบโตของร่างกาย
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
ด้วงกว่าง.
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
แมลงสังคม แมลงชนิดเดียวกันมีการอาศัยในรังเดียวกัน
บทปฏิบัติการที่ 4 หนวดของแมลง (Insect Antennae)
ประเภทของมดน่ารู้.
การเจริญเติบโตของร่างกาย
Welcome to .. Predator’s Section
ดอกไม้ฤดูหนาว.
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การเข้าไม้.
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
Class Polyplacophora.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
บทปฏิบัติการที่ 3 ปากของแมลง (Insect Mouthparts)
ด. ญ. กานต์สิริทองจีน เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เสนอ อ. อรอุมาพงศ์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร ไม้ดอกชนิดพุ่ม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขาของแมลง (Insect Legs) บทปฏิบัติการที่ 5 ขาของแมลง (Insect Legs) ขาของแมลงเป็นระยางค์ส่วนอก มีปล้องเรียงต่อกันจากฐานปส่วยปลายดังนี้; ค๊อกซ่า(Coxa) เป็นฐานติดลำตัวแมลงทางด้านข้าง มีขนาดแตกต่างกันตามชนิดของแมลง โทรแคนเตอร์(Trochanter) เป็นปล้องขนาดเล็กต่อจากค๊อกซ่า ฟีเมอร์(Femur) เป็นปล้องใหญ่ต่อจากโทรแคนเตอร์ อาจมีหนามแข็งspineเรียงเป็นแถว ทีเบีย(Tibia) เป็นปล้องยาวต่อจากฟีเมอร์ อาจมีหนามแข็งหรือส่วนปลายอาจมีหนามที่เคลื่อนไหวได้spur ทาร์ซัส(Tarsus) เป็นปล้องขนาดเล็กที่ปลายขา มี1-5 ปล้อง จำนวนปล้องใช้จำแนกชนิดแมลงtarsal formular พรีทาร์ซัส(Pretarsus) อยู่ปลายสุดของขา มีลักษณะดังนี้; - คลอ(Claw) มี1-2 อัน ลักษณะแหลม แข็ง - อะโรเลียม(Arolium) เป็นแผ่นเดี่ยวบาง กว้าง - เอ็มโปเดียม(Empodium) มี1 อัน เป็นขน ยาวแข็ง หรือแบน - พัลวิลลัส(Pulvillus) เป็นแผ่นคู่รองรับคลอ

Leg parts Coxa Trochanter Femur (thigh) Tibia (shin) Tarsus (foot) Pre-tarsus (claw)

นอกจากที่ขาแมลงมีไว้ใช้ในการเคลื่อนไหวแล้ว ยังสามารถใช้ในการ ขุด รับความรู้สึก ทำความสะอาดร่างกาย ว่ายน้ำ สร้างรัง ฟังเสียงทำเสียง เก็บอาหาร และยังมีรูปร่างต่างกันตามลักษณะการใช้งาน ดังนี้; 1. ขาเดิน(cursorial) ฟีเมอร์และทีเบียมีลักษณะยาวเรียว เช่น ขาด้วง ขาแมลงสาบ

2. ขากระโดด(saltatorial) ฟีเมอร์ขยายใหญ่ เช่น ขาหลังตั๊กแตน เพลี้ยกระโดด

3. ขาขุด(fossorial) ปล้องขาสั้นแข็งแรงทีเบียแบน ทาร์ซัสมีลักษณะคล้ายคราดสำหรับขุดดิน เช่น ขาหน้าแมลงกระชอน

4. ขาหนีบ ค๊อกซ่ายาวใช้ในการหนีบเหยื่อ ฟีเมอร์และทีเบียแข็งแรง ด้านในมีหนามเพื่อใช้ยึดเหยื่อให้แน่น เช่น ขาหน้าตั๊กแตนตำข้าว

5. ขาจับ(raptorial) ค๊อกซ่าและฟีเมอร์ใหญ่แข็งแรง ทีเบียเล็กยาวโค้งช่วยในการจับเหยื่อ เช่น ขาหน้าแมลงดานา

6. ขาเกี่ยว(pubic louse) ทีเบียเป็นง่ามเหมาะในการยึดเกาะเส้นขน ทาร์ซัสเป็นปล้องเดียวขนาดใหญ่ คลอยาวและแข็งแรง เช่น ขาเหา

7. ขาว่ายน้ำ(natatorial) ทาร์ซัสแบน ด้านข้างมีขนยาวติดกันเป็นแพ ช่วยในการว่ายน้ำ เช่น ขาหลังแมลงเหนี่ยง แมลงดานา

8. ขาเก็บอาหาร ทาร์ซัสของขาคู่หลังมีขนาดใหญ่ ด้านในมีขนเรียงตาม ขวางแนวปล้อง(comb) ทีเบียผิวด้านนอกเป็นแอ่งมีขนใช้เก็บละอองเกสร(pollen basket) และที่ปลายมีหนามเรียงเป็นแถว(rake)