บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Advertisements

โปรแกรมการคำนวณค่า sin รายชื่อผู้เสนอโครงงาน
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
รายวิชา ง40206 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Structure Programming
ตัวอย่าง Flowchart.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
รับและแสดงผลข้อมูล.
โครงสร้างภาษาซี.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
กระบวนการเขียนโปรแกรม
บทที่ 2 วิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Arrays.
Surachai Wachirahatthapong
C Programming Lecture no. 6: Function.
วิธีการทำงานของผังงาน
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
Lecture 7 ฟังก์ชัน To do: Hand back assignments
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 4 อัลกอริทึมแบบเรียงลำดับ (Sequential Algorithm)
โปรแกรมคำนวณค่าไซน์ (Sine)
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง โปรแกรมคำนวณหาค่า tan
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมการคำนวณพื้นที่วงกลม
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
System Development Lift Cycle
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
C language W.lilakiatsakun.
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
Week 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
Chapter 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
Week 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
Introduction : Principle of Programming
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
WATTANAPONG SUTTAPAK SOFTWARE ENGINEERING, SCHOOL OF INFORMATION COMMUNICATION TECHNOLOGY, UNIVERSITY OF PHAYAO Chapter 4 analysis of algorithm efficiency.
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา.
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
บทที่ 2 การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
โครงสร้าง ภาษาซี.
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
โครงสร้างข้อมูลและอังกอลิทึม
20 May 2556 Problem Analysis and Algorithms in Programming.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
การทำซ้ำ Pisit Nakjai.
Problem Analysis and Algorithm (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิด)
Computer Programming การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 6 คำสั่งควบคุมการทำงานแบบ เงื่อนไขและคำสั่งควบคุมการ ทำงานแบบวนซ้ำ.
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม

ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้ 1. วิเคราะห์ปัญหา (Analysis) 2. วางแผนและออกแบบ (Planing & Design) 3. เขียนโปรแกรม (Coding) 4. ทดสอบโปรแกรม (Testing) 5. จัดทำคู่มือ (Documentation)

วิเคราะห์ปัญหา (Analysis) ขั้นตอนนี้ถือว่าเป็นขั้นตอนที่ สำคัญที่สุด ผู้เขียนโปรแกรมต้อง วิเคราะห์ปัญหาให้ออกว่าจะต้องทำ การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ไขอะไร เพราะหากวิเคราะห์หรือมองปัญหาผิด แล้ว ก็จะทำให้เขียนโปแกรมได้ ผลลัพธ์ออกมาผิดไปจากสิ่งที่ ต้องการด้วย และนออกจากจะ วิเคราะห์ว่าปัญหาคืออะไรแล้ว จำเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องวิเคราะห์ด้วยว่า ข้อมูลที่จะนำเข้ามาใช้ในโปรแกรมมี อะไรบ้าง

จุดประสงค์ของการ วิเคราะห์ปัญหา 1. เพื่อหาวัตถุประสงค์ของการเขียน โปรแกรม 2. เพื่อหารูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ Output 3. เพื่อหาข้อมูลนำเข้าที่ต้องใส่เข้าไปใน โปรแกรม Input 4. เพื่อหาตัวแปรที่จำเป็นต้องใช้ใน โปรแกรม 5. เพื่อหาขั้นตอนวิธีการทำงานของ โปรแกรม Process 1. เพื่อหาวัตถุประสงค์ของการเขียน โปรแกรม 2. เพื่อหารูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ Output 3. เพื่อหาข้อมูลนำเข้าที่ต้องใส่เข้าไปใน โปรแกรม Input 4. เพื่อหาตัวแปรที่จำเป็นต้องใช้ใน โปรแกรม 5. เพื่อหาขั้นตอนวิธีการทำงานของ โปรแกรม Process

ตัวอย่างที่ 1.1 หาพื้นที่ สี่เหลี่ยมผืนผ้า 1. เพื่อหาวัตถุประสงค์ของการเขียนโปรแกรม 2. เพื่อหารูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ Output 3. เพื่อหาข้อมูลนำเข้าที่ต้องใส่เข้าไปใน โปรแกรม Input 4. เพื่อหาตัวแปรที่จำเป็นต้องใช้ในโปรแกรม 5. เพื่อหาขั้นตอนวิธีการทำงานของโปรแกรม Process 1. เพื่อหาวัตถุประสงค์ของการเขียนโปรแกรม 2. เพื่อหารูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ Output 3. เพื่อหาข้อมูลนำเข้าที่ต้องใส่เข้าไปใน โปรแกรม Input 4. เพื่อหาตัวแปรที่จำเป็นต้องใช้ในโปรแกรม 5. เพื่อหาขั้นตอนวิธีการทำงานของโปรแกรม Process พ. ท. สี่เหลี่ยมผืนผ้า = กว้าง * ยาว Output Input Process

วางแผนและออกแบบ (Planing & Desigh) การวางแผน คือ การนำปัญหาที่วิเคราห์ได้จาก ขั้นตอนที่ 1 มาวางแผนอย่างเป็นขั้นตอน ว่า จะต้องเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปํญหาอย่างไร การ วางแผนอย่างเป็นขั้นตอนนี้เรียกว่า อัลกอริทึม (Algorithm) ซึ่ง อัลกอริทึม แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบคือ 1 ซูโดโค้ด (Pseudocode) 2 โฟลวชาร์ต (Flowchart)

ซูโดโค้ด (Pseudocode) โฟลวชาร์ต (Flowchart) โจทย์ : จงเขียนโปรแกรมรับค่าเลขจำนวนเต็ม 2 จำนวนและหาผลบวกของเลขทั้ง 2 จำนวน นั้น

เขียนโปรแกรม (Coding) เป็นการนำอัลกอริทึมมาจาก ขั้นตอนที่ 2 มาเขียนโปรแกรม ให้ถูกต้องตามไวยกรณ์ (syntax) ของภาษาซี สามารถ เขียนได้ดังตัวอย่างนี้

#include #include Void main (void) { int x,y,sum; printf (“Value of x is : “); scanf (“5d”,&x); printf (“Value of y is : “); printf (“Value of y is : “); scanf (“%d”,&y); sum = x+y; printf (“Sum of %d+%d is %d\n”,x,y,sum); }

ทดสอบโปรแกรม (Testing) เป็นการผลลัพธ์จากขั้นที่ 3 มาทำการ รัน (run) จากนั้นทดสอบโดยป้อนค่า x และ y เข้าไปในโปรแกรม และตรวจสอบ ผลลัพธ์ที่ได้ว่าถูกต้องหรือไม่ โดยทดสอบ หลายๆครั้ง หากผลลัพธ์ที่ได้ถูกต้องแสดง ว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นถูกต้องแล้ว แต่ถ้า เขียนผิดผู้เขียนต้องกลับไปตรวจสอบ และ แก้ไขโปรแกรมใหม่อีกครั้ง เป็นการผลลัพธ์จากขั้นที่ 3 มาทำการ รัน (run) จากนั้นทดสอบโดยป้อนค่า x และ y เข้าไปในโปรแกรม และตรวจสอบ ผลลัพธ์ที่ได้ว่าถูกต้องหรือไม่ โดยทดสอบ หลายๆครั้ง หากผลลัพธ์ที่ได้ถูกต้องแสดง ว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นถูกต้องแล้ว แต่ถ้า เขียนผิดผู้เขียนต้องกลับไปตรวจสอบ และ แก้ไขโปรแกรมใหม่อีกครั้ง ดังตัวอย่างนี้

จัดทำคู่มือ (Documntation จุดประสงค์ที่สำคัญของการจัดทำ คู่มือ คือ ช่วยให้ผู้อื่นศึกษาซอร์ สโค้ดของโปรแกรม (source code) ได้ง่ายขึ้น จะเป็น ประโยชน์มากสำหรับการพัฒนา โปรแกรมในอนาคต เพราะจะช่วย ให้ศึกษาซอร์สโค้ดได้ง่ายและ รวดเร็วขึ้น การจัดทำคู่มือไม่มี กฏเกณฑ์ระบุไว้แน่นอน แต่ ผู้เขียนโปรแกรมควรจัดทำคู่มือให้ มีรายละเอียดมากที่สุด