แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
ข้อเสนอแนะ การร่างหนังสือ
ข้อเสนอแนะ การร่างหนังสือ
การเขียนหนังสือราชการให้ดี การเขียนให้ถูกต้อง 1. การเขียนให้ถูกแบบ * ถูกแบบของหนังสือชนิดนั้น * จัดโครงสร้างให้ถูกแบบ * เขียนรายละเอียดให้ถูกแบบ * ใช้ถอยคำให้ถูกต้อง
2. การเขียนให้ถูกเนื้อหา 2. การเขียนให้ถูกเนื้อหา * เหตุที่มีหนังสือไป เกิดจาก ผู้มีหนังสือไป บุคคลภายนอก เหตุการณ์ ผู้รับหนังสือ * จุดประสงค์ที่มีหนังสือไป ความมุ่งหมายที่มีหนังสือไป ประสงค์ให้ผู้รับหนังสือทำอะไร ทำอย่างไร * เตรียมการก่อนเขียนโดย ศึกษาเรื่อง , จับประเด็นของเรื่อง , ย่อเรื่อง
3. การเขียนให้ถูกหลักภาษา 3. การเขียนให้ถูกหลักภาษา * รูปประโยค ประโยคประกอบด้วยส่วนต่างๆ คือ ประธาน กริยา กรรม คุณศัพท์ (ขยายประธาน) กริยาวิเศษณ์ (ขยายกริยา) * ความสัมพันธ์ของข้อความ - ความสัมพันธ์ระหว่างประโยค (มีประโยคเหตุ ต้องมีประโยคผล)
การเขียนให้รัดกุม 1. เขียนให้มีลักษณะรัดกุม ดิ้นไม่ได้ ไม่มีช่องโหว่ สามารถยืนยันได้แน่นอนในคำที่เขียนนั้น และต้องไม่เขียนยืนยันในสิ่งที่ยืนยันไม่ได้ 2. กรณีที่ไม่อาจยืนยันได้แน่นอนว่าเป็นเช่นนั้นเสมอไป ควรใช้คำในลักษณะแบ่งรับแบ่งสู้ เช่น “โดยปกติ”
ไม่ใช้คำซ้ำ คำฟุ่มเฟือย ไม่เขียนวกวน ไม่ใช้ความซ้ำๆ กัน การเขียนให้กะทัดรัด ไม่ใช้คำซ้ำ คำฟุ่มเฟือย ไม่เขียนวกวน ไม่ใช้ความซ้ำๆ กัน
การเขียนให้บรรลุจุดประสงค์และเป็นผลดี หนังสือติดต่อราชการประเภทที่จะต้องเขียนให้บรรลุจุดประสงค์และเป็นผลดี ซึ่งจะต้องใช้ศิลปะในการเขียนเป็นพิเศษ ดังนี้ * หนังสือตักเตือน หรือตำหนิ * หนังสือตอบปฏิเสธ * หนังสือขอร้อง * หนังสือขอความร่วมมือ * หนังสือขอความช่วยเหลือ
การเขียนให้บรรลุจุดประสงค์และเป็นผลดี
การเขียน หนังสือราชการ
หนังสือราชการมี 6 ชนิด หนังสือภายนอก หนังสือภายใน หนังสือประทับตรา หนังสือสั่งการ หนังสือประชาสัมพันธ์ หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เพื่อ เป็นหลักฐานในราชการ
ชั้นความเร็ว มี 3 ประเภท ด่วน ด่วนมาก ด่วนที่สุด
ชั้นความลับ มี 3 ชั้น ลับ ลับมาก ลับที่สุด
โครงสร้างหนังสือติดต่อราชการ มี 4 ส่วน 1. ส่วนหัวหนังสือ ประกอบด้วย : * ชื่อเรื่อง * คำขึ้นต้น 2. ส่วนเหตุที่มีหนังสือไป : * เริ่มต้นด้วยคำที่เหมาะสม * ใช้สรรพนามให้เหมาะสม * อ้างเหตุที่มีหนังสือไปให้ถูก
โครงสร้างหนังสือติดต่อราชการ มี 4 ส่วน 3. ส่วนจุดประสงค์ที่มีหนังสือไป : * เขียนให้ตรงกับลักษณะของเรื่อง * ความมุ่งหมายที่มีหนังสือไป 4. ส่วนท้ายหนังสือ : * คำลงท้าย จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา - ตรงกับจุดประสงค์ที่มีหนังสือไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุเคราะห์
องค์ประกอบของการเขียนหนังสือ ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ บทกล่าวนำ เร้าใจ เนื้อหา เข้าใจ บทสรุป ประทับใจ
การพิมพ์หนังสือราชการ การกั้นหน้า ซ้าย-ขวา ในหนังสือราชการ กั้นหน้าด้านซ้าย (กั้นหน้า) 3 เซนติเมตร – 1.5 นิ้ว กั้นหน้าด้านขวามือ (กั้นหลัง) 2 เซนติเมตร – 1 นิ้ว (ไม่เคร่งครัดแต่ไม่ควรน้อยกว่า 2 เซนติเมตร) ขนาดครุฑและขนาดตัวอักษร มี 2 ขนาด คือ ตราครุฑสูง 3 ซม. ใช้สำหรับการจัดทำ กระดาษตราครุฑ (หนังสือราชการภายนอก) ตราครุฑสูง 1.5 ซม. ใช้สำหรับการจัดทำ กระดาษบันทึกข้อความ (หนังสือราชการภายใน)
การพิมพ์หนังสือราชการ ตัวอย่าง การพิมพ์หนังสือราชการ
รูปแบบ หนังสือภายนอก
ตัวอย่าง หนังสือภายนอก
รูปแบบ หนังสือภายใน
ตัวอย่าง หนังสือภายใน
สวัสดี