ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
Advertisements

กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
จากรูปภาพ นักเรียนคิดว่าเป็นการแต่งกายของชนชาติใด??
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
เตรียมตัวผู้แทนชาว ไทย เข้าสู่ “AMC เชียงใหม่ ” “ บอกเล่าเรื่องพระ เยซูเจ้า ให้ชาวเอเชีย ” ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว เชียงใหม่ ตุลาคม 2006.
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข.
สำนวน.
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
กระบวนการฝึกวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ
ประวัติศาสตร์ศาสนา 7 พ.ย บรรยายโดย อาจารย์สมชัย ศรีนอก.
ความหมายของวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ระบบความเชื่อ.
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
(Individual and Organizational)
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
หลักฐานประวัติศาสตร์สุราษฎร์ธานี
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
โครงสร้างการบริหารโรงเรียนพลัง แผ่นดิน เป็นผู้มีจิตอาสา 1. ศึกษากิจกรรม / ตัวอย่าง / วิธีการของจิตอาสาจากสื่อต่างๆ เช่น ภาพยนต์ สารคดี 2. นำนักเรียนไปพัฒนา.
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
อ่านอะไรและอ่านอย่างไรเพื่อพัฒนาตนในด้านความรู้
ความเป็นมาของชาติไทย : พ.อ.ดร.ศรศักร ชูสวัสดิ์ ความเป็นมาของชาติไทย : พ.อ.ดร.ศรศักร ชูสวัสดิ์ องค์ประกอบของชาติ มี 1.ดินแดนที่แน่นอน.
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
ประเภทของวรรณกรรม.
การฟังเพลง.
พระเวสสันดรชาดก.
ฉากและบรรยากาศ.
องค์ประกอบของวรรณคดี
วรรณกรรมในสมัยอยุธยามีอยู่มากตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จนตลอดระยะเวลาของ กรุงศรีอยุธยาวรรณกรรมที่ดีเด่นจนได้รับการยกย่องเป็นวรรณคดีมีอยู่หลายเรื่อง.
 มาจากภาษาอังกฤษว่า Literature เช่นเดียวกับวรรณกรรม สำหรับใน ภาษาไทยนั้นมีการใช้คำว่า " วรรณคดี " ก่อนภายหลังจึงได้เกิดมีคำว่า " วรรณกรรม " ขึ้น  คำว่า.
บที่ ๒ เนื้อหาของวัฒนธรรม
การสร้างสรรค์บทละคร.
การเงินส่วนบุคคลตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
๑.นางสาววิมุตตรีศักดิ์สกุลไกร เลขที่ ๘ ๒.นางสาวกชรัตน์นันทเสน เลขที่ ๑๕ ๓.นางสาวสุวภัทรธูปหอม เลขที่ ๑๗ ๔.นางสาวชญานิศวิจารณ์ เลขที่ ๒๐ ๕.นายภูมิภัทรกลิ่นหอม.
องค์ประกอบของบทละคร.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ความหมายของการวิจารณ์
การนำเสนอ เรื่องวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย.
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
วรรณคดีสมัย กรุงรัตนโกสินทร์.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
สาระที่ควรปรับปรุงเร่งด่วนของเขตพื้นที่การศึกษา ชั้น ม.3.
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
พ่อขุนรามคำแหง จัดทำโดย นาย เจษฎากร ลิมปนุสรณ์ นาย เชิงชาย ตะโฉ
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม บ่อเกิดวรรณกรรม

บ่อเกิดวรรณกรรม ม.ล. ตุ้ย ขุมสาย  ม.ล. ตุ้ย ขุมสาย ได้แสดงความคิดเห็นว่า จุดเริ่มต้นของวรรณกรรมอยู่ที่สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมถือเป็นสิ่งเร้าที่ทำให้ผู้ประพันธ์เกิดอารมณ์ ความรู้สึก แล้วก่อตัวขึ้นเป็นมโนภาพแต่โดยนิสัยของนักประพันธ์ เขามักเกิดแรงบันดาลใจที่จะถ่ายมโนภาพนั้นไปให้ผู้อื่นได้รับทราบด้วย จึงเกิดวรรณกรรมขึ้น

บ่อเกิดวรรณกรรม บรรจง บรรเจิดศิลป์ กล่าวว่า ที่กำเนิดแห่งศิลปะและวรรณกรรมนั้น คือชีวิตที่เป็นจริงของมนุษย์ คือ สิ่งที่ตั้งอยู่บนฐานแห่งการคลี่คลายขยายตัวทางเศรษฐกิจของสังคม คือผลงานประวัติศาสตร์ทั้งหมดของโลกตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน หรือกล่าวย่อๆ ก็คือ ความเป็นจริงทางภววิสัยของมนุษย์นั่นเองเป็นแหล่งกำเนิดแห่งศิลปะและวรรณกรรม

บ่อเกิดวรรณกรรม บำรุง สุวรรณรัตน์ และ ชูศักดิ์ เอกเพชร บำรุง สุวรรณรัตน์ และ ชูศักดิ์ เอกเพชร ได้กล่าวไว้หลายลักษณะดังนี้ คือ 1. วรรณกรรมที่เกิดขึ้นเพราะแรงกระตุ้นทางธรรมชาติ ได้แก่ บทชมธรรมชาติ ชมปลา เหล่านี้เป็นต้น          2. วรรณกรรมที่เกิดขึ้นจากปัจจัยทางศาสนาและปรัชญา เขียนขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือในการสอนศาสนาโดยตรง เช่น ทศชาติชาดก มหาเวสสันดรชาดก พระมาลัยคำหลวง เป็นต้น       

3. วรรณกรรมที่เกิดขึ้นจากเหตุปัจจัยทางวรรณกรรมด้วยกัน หมายความว่า เมื่อกวีหรือนักเขียนได้อ่านหรือได้ฟังเรื่องราวจากวรรณกรรมเรื่องใดเรื่องหนึ่งแล้ว ก็เกิดแรงบันดาลใจ แล้วนำเค้าเรื่องมาดัดแปลงแล้วรจนาขึ้นใหม่หรือคิดสืบเนื่องต่อออกไปเช่น รามเกียรติ์ อิเหนา เป็นต้น 4. วรรณกรรมที่เกิดขึ้นจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวกับชีวิต หมายความว่า เรื่องราวของชีวิตทั้งความดี ความชั่ว ความรัก ความชัง ความสมหวัง ความผิดหวัง ฯลฯเป็นแรงกระตุ้นให้เกิดวรรณกรรม         5. วรรณกรรมที่เกิดขึ้นเพราะความผันผวนทางการเมืองและสังคม          วรรณคดีเก่า ๆ ของไทยที่เกิดขึ้นจากปัจจัยทางการเมือง และสังคม หรือเรียกรวม ๆ กันว่า "ปัจจัยทางประวัติศาสตร์" เช่น ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตตะเลงพ่าย สามกรุง บทเสภาพระราชพงศาวดาร เป็นต้น         

บ่อเกิดวรรณกรรม ดวงใจ ไทยอุบุญ กล่าวไว้ดังนี้ ดวงใจ ไทยอุบุญ กล่าวไว้ดังนี้ 1. เกิดจากการชื่นชมและเทิดทูนวีรบุรุษ คิดว่าบรรพบุรุษของตนมีความเก่งกล้าสามารถ เกิดความภาคภูมิใจ จึงต้องการที่จะยกย่องเชิดชู และให้คนรุ่นลูก รุ่นหลานได้รู้จักบรรพบุรุษของตน โดยได้นำเรื่องราวหรือเหตุการณ์นั้น ๆ มาแต่งขึ้นเป็นเรื่องราวเชิงประวัติศาสตร์ ดังเช่น ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตตะเลงพ่าย สามกรุง เป็นต้น 2. อิทธิพลทางศาสนา ศาสนามีอิทธิพลต่อจิตใจคน เป็นหลักยึดปฏิบัติในการดำเนินชีวิต เป็นเครื่องโน้มเหนี่ยวใจให้คนเรามีศีลธรรมประจำใจและอยู่ร่วมกันอย่างผาสุก กวีจึงได้นำคำสั่งสอนหรือพุทธปรัชญามาแต่งขึ้นเพื่อสอนใจประชาชน เช่น สุภาษิตพระร่วง มหาชาติคำหลวง เป็นต้น        

3. เกิดจากกวีต้องการบันทึกเหตุการณ์หรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้นกับตน ให้ชนรุ่นหลังได้ทราบทั้งทางด้านวัฒนธรรมประเพณี การศึกษา ประวัติศาสตร์ หรือความนึกคิดของคนในสมัยนั้นๆ เช่น จินดามณี พระราชพิธีสิบสองเดือน เป็นต้น 4. เกิดจากการถ่ายทอดวัฒนธรรมระหว่างชาติ ที่ทำให้เราได้รู้จักเรื่องราวชีวิตความเป็นอยู่ ,วัฒนธรรมประเพณีของชาติอื่นๆ ได้แก่ เรื่องแปลจากต่างประเทศ เช่น สามก๊ก เวนิสวานิช นิทานเวตาล เป็นต้น หรือเรื่องที่แต่งขึ้นจากประสบการณ์ตรงของผู้แต่ง เช่น นิราศลอนดอน สามกรุง เป็นต้น 5. เกิดจากอารมณ์หรือความรู้สึกของกวี อาจเกิดจากประสบการณ์ของกวี ทำให้มีแรงบันดาลใจที่จะถ่ายทอดความรู้สึกนั้นออกมา เช่น มัทนะพาธา นิราศนรินทร์ กำศรวลศรีปราชญ์ เป็นต้น        

จะเห็นได้ว่า บ่อเกิดของวรรณกรรมเกิดขึ้นจากหลายๆสาเหตุ และวรรณกรรมเรื่องหนึ่งๆอาจเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุก็ได้...