การบริหารอัตรากำลังทางการพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
Graduate School Khon Kaen University
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
Workshop การวิเคราะห์ภาระงานกลุ่มการพยาบาลจักษุ โสตฯ
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
การจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ เขตพื้นที่บริการเครือข่ายที่ 2
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
25/07/2006.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การสัมมนาโครงการสร้างอนาคต แพทย์ทหารเรือ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ ขั้นตอนที่ ๑ Stake Holder Analysis : การวิเคราะห์ความต้องการของ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทั้งหมด ขั้นตอนที่
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
กรณีความเสี่ยง DMSc.
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
กลวิธีการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
กลุ่มที่ 1.
นโยบายด้านบริหาร.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หลักธรรมาภิบาลใน WP นพ. ฑิฆัมพร จ่างจิต ผอก. รพ. พาน.
แผนการดำเนินงาน หน่วยงานการพยาบาลวิสัญญี
คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลสวนปรุง ปีงบประมาณ 2557
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารอัตรากำลังทางการพยาบาล พว.ชุติมา แสนทวีดำรงกุล หัวหน้ากลุ่มงานการบริการผู้ป่วยใน กลุ่มภารกิจบริการวิชาการ โรงพยาบาลราชวิถี วันที่ 2 กรกฎาคม 2557 เวลา 10.00 – 12.00 น. ณ โรงแรมปริ๊นซ์พาเลซ กทม.

ประเด็นนำเสนอ วัตถุประสงค์การจัดอัตรากำลังทางการพยาบาล ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดอัตรากำลังทางการพยาบาล อัตรากำลังพยาบาล : ต่อความปลอดภัย /ความพึงพอใจ อัตรากำลังตามเกณฑ์สภาการพยาบาล แนวทางการจัดอัตรากำลังทางการพยาบาล แนวทางการบริหารอัตรากำลังทางการพยาบาล ปัจจัยความสำเร็จ

วัตถุประสงค์การจัดอัตรากำลัง 1. เพื่อกำหนดปริมาณอัตรากำลัง ให้เพียงพอหรือ เหมาะสมกับปริมาณงาน 2. เพื่อสรรหาบุคลากรทางการพยาบาลที่มีคุณสมบัติ ตามที่กำหนด และสามารถใช้ประโยชน์จากความรู้ ความสามารถ และความชำนาญงานของบุคลากรแต่ ละประเภทได้อย่างเต็มที่ โดยการจัด Staff mixed หรือ Skill mixed team และ Staff allocation

วัตถุประสงค์การจัดอัตรากำลัง(ต่อ) 3. ทำให้จัดตารางเวลาการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับ ภารกิจของหน่วยงาน 4. เกิดความพึงพอใจ และคุณภาพชีวิตที่ดีของ เจ้าหน้าที่ 5. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ 6. เกิดความปลอดภัย/ไม่มีภาวะแทรกช้อน 7. ลดค่าใช้จ่าย (ประสิทธิภาพและความคุ้มค่า)

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดอัตรากำลัง การวิเคราะห์อัตรากำลังของแต่ละหน่วยงาน การจำแนกประเภทของผู้ป่วย สมรรถนะและประสบการณ์ของพยาบาล (กำหนด JD/JS) ให้ชัดเจน การพัฒนาบุคลากร สนับสนุนการบริหารจัดการทั้งระดับปฏิบัติและ ผู้บริหาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กร การจัด Skill mixed ระหว่าง RN : non RN จัดสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่ปลอดภัย และสะดวก ในการปฏิบัติงาน

การจัดอัตรากำลังที่มีประสิทธิภาพ 1. จำนวนบุคลากร สมดุลกับปริมาณงาน โดยเฉพาะ หน่วยงานที่มีความเสี่ยงสูง เช่น ICU , ER , LR, OR 2.การแบ่งสัดส่วนอัตรากำลังในแต่ละเวรเหมาะสมกับภาระงาน 3.ศักยภาพเหมาะสมกับลักษณะงาน มีการผสมผสานอัตรากำลัง (Staff mixed , Staff allocation) 4.สามารถผลิตผลงาน / ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ/คุณภาพ ตามเป้าหมาย 5.ผู้ปฏิบัติงานมีคุณภาพชีวิตที่ดีในการปฏิบัติงาน

ผลการศึกษาวิจัยพบว่า มีความสัมพันธ์กันระหว่าง ความเพียงพอของบุคลากร กับผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย สิ่งที่เป็นผลกระทบของอัตรากำลัง ต่อ การจัดการดูแลที่ ปลอดภัย  workload  work environment  patient complexity  skill level of nursing staff  mix of nursing staff  cost efficiency & effectiveness ICN, 2006

อัตรากำลังพยาบาลมีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ภาระงานที่มาก และสัดส่วนบุคลากรพยาบาลไม่ดีจะ สัมพันธ์กับ ♣ Nurse burnout ♣ Low job satisfaction ♣ Increased nurse stress ความเครียดของพยาบาลจะสัมพันธ์กับ ♥ Adverse patient events ♥ Nurse injuries ♥ Quality of care ♥ Patient satisfaction

แนวทางวิเคราะห์การจัดอัตรากำลังพยาบาล 1. Nurse-to-patient ratios 2. Hours per patient day (HPPD) 3. Full-time equivalent employment (FTEE) 4. Skill mix

โครงสร้างกลุ่มภารกิจบริการวิชาการ คณะกรรมการบริหาร ทางการพยาบาล และคณะกรรมการต่างๆ (19 คณะ) โรงพยาบาลราชวิถี ผู้อำนวยการโรงพยาบาลราชวิถี กลุ่มภารกิจบริการวิชาการ รองผู้อำนวยการกลุ่มภารกิจบริการวิชาการ งานธุรการ กลุ่มงานการบริการผู้ป่วยนอก หัวหน้ากลุ่มงาน การบริการผู้ป่วยนอก กลุ่มงานวิชาการพยาบาล หัวหน้ากลุ่มงาน วิชาการพยาบาล กลุ่มงานการบริการผู้ป่วยใน หัวหน้ากลุ่มงาน การบริการผู้ป่วยใน งานการพยาบาลอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ( ER observe Pre Hos. ศูนย์เปล) -งานการพยาบาลผู้ป่วยนอก(21ห้องตรวจ) งานการพยาบาลตรวจรักษาพิเศษ(12หน่วย) - งานบริการสุขภาพปฐมภูมิ (5หน่วย) หอผู้ป่วยทั่วไป 36 หอ หอผู้ป่วยหนัก 6 หอ - งานการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัด - งานการพยาบาลวิสัญญี - งานหน่วยจ่ายกลาง งานวิจัยและพัฒนาทางการพยาบาล งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ ใน โรงพยาบาล - งานสารสนเทศทางการพยาบาล งานพัฒนาบุคลากร งานแผนและประเมินผล งานทะเบียน และศึกษาอบรม

เกณฑ์ของกลุ่มภารกิจบริการวิชาการ รพ. ราชวิถี ประเภทผู้ป่วย จำนวนชั่วโมงความต้องการ การพยาบาลของผู้ป่วย 1. ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้ (Self care) 1.5 2. ผู้ป่วยที่ต้องการ การดูแลเล็กน้อย (Minimal care) 3.5 3. ผู้ป่วยที่ต้องการการดูแลปานกลาง (Intermediate Care) 5.5 4. ผู้ป่วยต้องการการดูแลมาก (Modified Intensive Care) 7.5 5. ผู้ป่วยต้องการการดูแลมากที่สุด (Intensive Care) 12-16

อัตรากำลังที่ต้องการเพิ่มตามเกณฑ์สภาการพยาบาล กลุ่มภารกิจบริการวิชาการ โรงพยาบาลราชวิถี ประเภท บุคลากร กรอบอัตรากำลังที่คำนวณได้ อัตรากำลังที่มีอยู่ปัจจุบัน อัตรากำลังที่ต้องการเพิ่ม RN 1,620 930 690 PN AN 961 426 249 276 Information officer 130 76 54 Clerk (OR,LR,ER) 38 35 3

สัดส่วน พยาบาลวิชาชีพ : ผู้ป่วย การจัดอัตรากำลัง สัดส่วนพยาบาล : ผู้ป่วย (ผู้ป่วยนอก และ อุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน) ประเภท สัดส่วน พยาบาลวิชาชีพ : ผู้ป่วย สภาการพยาบาล 2554 2555 2556 ผู้ป่วยนอก 1:50 1:46 1:65 1:72 อุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน 1:4 1:4.65 1:7.35 1:6.29

สัดส่วน พยาบาลวิชาชีพ : ผู้ป่วย การจัดอัตรากำลัง สัดส่วนพยาบาลวิชาชีพ : ผู้ป่วยใน (เวรเช้า บ่าย ดึก) ประเภท สัดส่วน พยาบาลวิชาชีพ : ผู้ป่วย สภาการพยาบาล 2554 2555 2556 เช้า บ่าย ดึก ผู้ป่วยใน ทั้งหมด 1:4-1:6 1:4.34 1:11.30 1:11.95 1:1.51 1:10.22 1:12.29 1:4.75 1:9.09 1:10.18 ผู้ป่วยหนัก 1:1.5-1:2 1:1.2 1:1.5 1:1.22 1:1.46 1:1.24 1:1.78

การจัดอัตรากำลัง ER OPD การจัดอัตรากำลัง RN : Non-RN ของ ER และ OPD ตาม Productivity, Hour Per Patient Day (HPPD) และ Skill Mix การจัดอัตรากำลัง ตามเกณฑ์ เกณฑ์ 2554 2555 2556 ER OPD Productivity 90-100% 155.0 176.8 149.8 90-110% 160.52 129.06 136.99 HPPD 1.7 1.14 0.93 1.20 0.5 0.91 Skill Mix 70:30 64.8:35.2 68.0:32.0 66.0:34.0 40:60 36:64 38:62 37:63

การจัดอัตรากำลัง เกณฑ์ การจัดอัตรากำลัง RN : Non-RN ของ IPD และ ICU ตาม Productivity, Hour Per Patient Day (HPPD) และ Skill Mix การจัดอัตรากำลัง ตามเกณฑ์ เกณฑ์ ผลลัพธ์ 2554 ผลลัพธ์ 2555 ผลลัพธ์ 2556 IPD ICU Productivity % 90-110% 70 88.20 69.21 89.50 70.05 98.60 71.59 HPPD (hr) 6 12-16 4 hr. 17 hr. 4.7 hr. 16.2 hr. 4.85 hr. 16.25 hr. Skill Mix 60:40 80:20 62:38 76:24 77:23 75:25

แนวทางการบริหาร 1. ด้านบุคลากร 1. จัดทำเกณฑ์การจัดอัตรากำลังในแต่ละหน่วยงานให้ ชัดเจน 2. วิเคราะห์ภาระงาน และประเมินความเพียงพอของ กำลังคนในแต่ละหน่วยงานทุกปี 3. พัฒนาบุคลากรทางการพยาบาล ให้มีสมรรถนะ และ ความรู้ความสามารถพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ

แนวทางการบริหาร 1. ด้านบุคลากร (ต่อ) 4. ใช้ระบบ Staff mixed และ Staff allocation เพื่อผ่องถ่ายงาน ของพยาบาลให้ระดับอื่นๆ เช่น PN, AN และเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล โดยการให้ความรู้ และการปฏิบัติงานอยู่ภายใต้การดูแลของพยาบาล วิชาชีพ 5. เกลี่ยอัตรากำลังในงานที่มีลักษณะเหมือนกัน หรือในงานเดียวกันที่ มีจำนวนผู้ป่วยน้อยไปช่วยงานที่มีผู้ป่วยมาก (ถ้าดูแยกส่วนอัตรากำลังไม่ได้ขาดทุกที่ การหมุนเวียนกันทำให้ เข้าใจระบบงานซึ่งกันและกันมากขึ้น )

แนวทางการบริหาร 1. ด้านบุคลากร (ต่อ) 6. เพิ่มการคงอยู่และเสริมแรงจูงใจแก่บุคลากร (ปรับค่าตอบแทน , ความก้าวหน้าในอาชีพ) 7. จัดสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่ ปลอดภัย และสะดวกรวดเร็วใน การปฏิบัติงานรวมทั้งอุปกรณ์ และเครื่องมือ เครื่องใช้ เพียงพอ และพร้อมใช้

แนวทางการบริหาร 1. ด้านบุคลากร (ต่อ) 8. มีการจัดอัตรากำลังเสริมให้เพียงพอ และเหมาะสมกับภาระ งาน เช่น ช่วงเวลา 16.00 – 20.00 น. , 06.00 – 08.00 น. ในช่วง rush hour เป็นต้น 9. มีการหมุนเวียนอัตรากำลังในหน่วยงานเดียวกัน เช่น อายุรกรรม , CVT 10. การจัดอัตรากำลังสำรองในกรณีฉุกเฉิน และสามารถตาม ได้ทันที เช่น กรณีอุบัติภัยหมู่ จลาจล อุทกภัย ฯลฯ

แนวทางการบริหาร 2. ระบบงานและภาระงาน 1. กำหนดแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดอัตรากำลังเพิ่ม หรือ ลดในแต่ละช่วงเวลาตามภาระงาน 2. พัฒนา/ปรับปรุงการจำแนกประเภทผู้ป่วยให้เกิดความ เที่ยงตรง 3. พัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศ เพื่อให้สามารถ ประมวลข้อมูล ได้ครบถ้วนถูกต้อง และทันเวลา

แนวทางการบริหาร 2. ระบบงานและภาระงาน (ต่อ) 4. จัดระบบบริการใหม่ๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตของงาน - จัด Step down ICU - จัด Same day Surgery เพื่อลดระยะเวลาการนอนในโรงพยาบาล - ขยายเวลาการบริการผู้ป่วยนอก เช่น คลินิกนอกเวลา หรือ จัดเวลาการทำงานของเจ้าหน้าที่ให้เหลื่อมกันตามภาระงาน

แนวทางการบริหาร 2. ระบบงานและภาระงาน (ต่อ) 5. ติดตามประเมินผลลัพธ์ของอัตรากำลัง - ความพึงพอใจของผู้ให้บริการ - ความพึงพอใจของผู้รับบริการ - Patient safety / Complication - Length of stay - Productivity - Quality of work Life

แนวทางแก้ปัญหาขาดแคลนบุคลากรพยาบาล การแก้ไขระยะสั้น - อนุมัติเพิ่มกรอบอัตรากำลัง ประเภทลูกจ้างชั่วคราว สรรหาเพิ่ม จากภายนอก เพิ่มค่าตอบแทน - บริหารจัดการภายใน: เกลี่ยและหมุนเวียนอัตรากำลังภายใน - จัด OT บุคลากรที่มีอยู่ - เพิ่มค่าตอบแทนพิเศษ เวรบ่าย- ดึกและ เวร OT ให้ค่าตอบแทนแก่หอผู้ป่วยที่มีการใช้เครื่องช่วยหายใจ การแก้ไขระยะยาว - เพิ่มการจัดหาผู้มาปฏิบัติงานสนับสนุน เช่น จนท.บันทึกข้อมูล - ใช้ระบบ IT,MIS ในงานบริการพยาบาล - ให้ทุนนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ - จัดทำแผนอัตรากำลัง - เปิดอบรมหลักสูตรผู้ช่วยพยาบาล

ปัจจัยความสำเร็จ 1. ส่งเสริมการทำงานเป็นทีมในองค์กรพยาบาลและประสานงานกับหน่วยงาน อื่นๆ เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการทำงาน 2. หัวหน้าทุกระดับ ต้องมีความรู้และสามารถบริหารจัดการกำลังคนและ วิเคราะห์ภาระงาน ให้เกิดความสมดุล 3. การบริหารบุคลากรทางการพยาบาลต้องพิจารณา - Staff Mixed, - Staff allocation , - ในหน่วยที่มีความเสี่ยงสูงต้องพิจารณาเป็นพิเศษ - การพัฒนาบุคลากร - วิเคราะห์ปัญหา/ส่วนขาด/การประเมินนำมาพัฒนา - สร้างขวัญกำลังใจ สร้างทีมงาน สร้างสุข 4. ดึงศักยภาพของพยาบาลมาใช้ประโยชน์ให้เต็มที่

ปัจจัยความสำเร็จ(ต่อ) แบ่งประเภทกลุ่มผู้ป่วยให้ชัดเจน เพื่อจัดสรรอัตรากำลังได้อย่างเหมาะสม การส่งเสริมให้ APN สามารถทำงานร่วมกับคลากรทางการพยาบาลในหน่วยงาน โดยแสดงบทบาทการดูแลผู้ป่วยที่ซับซ้อน เป็นที่ปรึกษา และต้องแสดงบทบาทอื่นๆของ APN ให้ชัดเจน พัฒนาระบบงานและมาตรฐานการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ มีการนิเทศ กำกับและติดตามอย่างต่อเนื่อง มีการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง - ด้านคุณภาพการดูแล - ด้านคุณภาพชีวิตการทำงาน

Thanks you for Your Attention