แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ประเมินความเสี่ยง  ช่องว่างของภูมิต้านทานโรค  ประชาชนที่ยังไม่มีภูมิต้านทานโรค ในกลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือเกิด ในช่วงต้นของ EPI และในเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนครบ.
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
ผลกระทบการเปิดประตูสู่อาเซียน
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
ผลการประชุมกลุ่ม โรคหนอนพยาธิ ๒๕๕๗.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
จังหวัดนครปฐม.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
คำของบดำเนินงานโครงการ ประจำปีงบประมาณ 2559
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
กำจัดพยาธิใบไม้ตับ ลดมะเร็งท่อน้ำดี
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
แผนการตรวจราชการและนิเทศงานยาเสพติด
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ นายแพทย์สุวิช ธรรมปาโล สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา

สถานการณ์และปัญหาการดำเนินการ โรคป้องกันด้วยวัคซีน เช่น โรคคอตีบ และ ไอกรน เนื่องจากอัตราการครอบคลุมของวัคซีนพื้นฐานต่ำ (DPT 3 ปัตตานี =72% ยะลา= 85% นราธิวาส= 87%) โรคมาลาเรียมีการระบาดในแนวชายแดนไทย-มาเลเซีย ใน อ. สะบ้าย้อย จ.สงขลา อ.กาบัง อ.บันนังสตา อ.ธารโต จ. ยะลา และ อ.สุคิริน อ.จะแนะ จ.นราธิวาส โรคเรื้อนยังพบในผู้ป่วยรายใหม่ในเด็ก มีเชื้อมากและมีความพิการในอ.กะพ้อ อ.สายบุรี จ.ปัตตานี และอ.ระแงะ อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส โรคเท้าช้าง รังโรคในสัตว์ ใน7 อำเภอรอบพรุโต้ะแดงและพรุบาเจาะ จ.นราธิวาส โรคหนอนพยาธิ อัตราการตรวจพบในเด็กนักเรียน จ.นราธิวาส 12 % พบ ส่วนใหญ่เป็นพยาธิไส้เดือน (7.51%)และแส้ม้า (6.4%) พยาธิปากขอ(0.05%)น้อยลงมาก

อัตราความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ปัญหาที่คงอยู่ กลยุทธ์ กิจกรรม ผลผลิต 1.คุณภาพการให้บริการไม่ได้มาตรฐาน 1. นิเทศหน้างาน 1.อบรมผู้รับผิดชอบระดับอำเภอ 1.ผู้นิเทศอำเภอ 2.ผู้ปกครองไม่ให้ความร่วมมือ 2.1สื่อประชาสัมพันธ์ที่เหมาะสม 2.2ชุมชนมีส่วนร่วม 2.1ผลิตสื่อต้นแบบ 2.2ประชุมผู้นำชุมชนบัณฑิตอาสาและอาสาสมัครสาธารณสุข 2.1วีดิโอภาษาไทยและยาวี 2.2รูปแบบการให้ชุมชนมีส่วนร่วม 3.รายงานเฝ้าระวัง AFP บางโรงพยาบาลไม่ส่ง 3.ทำความเข้าใจเฉพาะกลุ่ม 3. ประชุมแพทย์และพยาบาล 3.รายงานAFP มากขึ้น

มาลาเรีย ปัญหาที่คงอยู่ กลยุทธ์ กิจกรรม ผลผลิต แรงงานต่างด้าวเป็นแหล่งแพร่โรค กำจัดเชื้อระยะแพร่สู่ยุงในกลุ่มเสี่ยง Primaquine MassTreatment แรงงานต่างด้าวทุกคนได้รับยา ความชุกชุมของยุงพาหะ ลดประชากรยุงและป้องกันยุงกัด ฉีดพ่นป้องกันโรคล่วงหน้า ประชากรในพื้นที่ A1 A2 ลดเสี่ยงจากมาลาเรีย การระบาดในพื้นที่ใหม่ เฝ้าระวัง ตรวจจับและดำเนินการเร็วทันเวลา สอบสวนโรค ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ พัฒนาระบบเตือนภัย หยุดยั้งการระบาดให้เร็วที่สุด

ปัญหาที่คงอยู่ กลยุทธ์ กิจกรรม ผลผลิต โรคเรื้อน -การค้นหาผู้ป่วยไม่ทั่วถึง -การจัดการcase contact 1.ภาคีเครือข่ายค้นหารายใหม่ 2.เน้นการสอบสวนโรค 1.อบรมให้ความรู้ รพสต./รพช. 2.อบรมทีม SRRT สอบสวนโรค 1.จะไม่มีผู้ป่วยเด็ก เชื้อมาก และพิการในเวลา 3ปีต่อมา โรคเท้าช้าง รังโรคในสัตว์ ยุงพาหะในพรุ 1.เฝ้าระวังปัจจัยทางระบาดวิทยา 1.เฝ้าระวังในยุง 2.ประเมินผล สำรวจอัตราการแพร่เชื้อในคนและในแมว ปลอดโรคเท้าช้างในปี2559 หนอนพยาธิ -พฤติกรรมการบริโภคไม่สะอาด ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่บ้าน ลดพยาธิในคน ขยายผลโรงเรียนต้นแบบ ให้การรักษากลุ่ม อัตราการตรวจพบพยาธิลดลงต่ำกว่า 5% โรงเรียนต้นแบบในทุกจังหวัด

สรุป โครงการทั้งหมด 1. โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันในจังหวัดชายแดนใต้ 2,724,560 2. โครงการกวาดล้างมาลาเรียชายแดน 4,392,800 3. โครงการปราบปรามควบคุมโรคตามแนวพระราชดำริ 1,685,880 รวม 8,803,240