ความแตกต่างระหว่างบุคคล (ชุดที่ 2)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PCTG Model อริยมงคล 55.
Advertisements

การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
ลีลาการเรียนรู้ Learning Style.
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
เทคนิคการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
สอนอย่างไรใน 50 นาที.
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาบุคลิกภาพภายใน
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
การสร้างวินัยเชิงบวก
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
รูปแบบการสอน.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
เรื่องราวทางสังคม (SOCIAL STORY)
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
TLLM.
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
การสอนกลุ่มใหญ่(Large Group Teaching)
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
แนวทางในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง
บทบาทสมมติ (Role Playing)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิธีสอนแบบอุปนัย.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
รายงานผลการวิจัย.
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ จิตวิทยาการเรียนการสอน และการแนะแนว
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความแตกต่างระหว่างบุคคล (ชุดที่ 2) ผศ.นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ความแตกต่างระหว่างบุคคลด้านเชาวน์ปัญญา 2

เชาวน์ปัญญา คือ ??? ความสามารถในการคิด การตัดสินใจ คาดการณ์ เรียนรู้ ปรับตัว แก้ปัญหา และกระทำเมื่อเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ ได้ดี สมเหตุ สมผล 3

ลักษณะและธรรมชาติของเชาวน์ปัญญา เป็นลักษณะเฉพาะ ถ่ายทอดทางพันธุกรรม พัฒนาได้ เป็นสิ่งที่อยู่ภายในตัวบุคคล คงที่ ไม่เปลี่ยนแปลง 4

การวัดเชาวน์ปัญญา บิเนต์ พบว่า เด็กมีอายุต่างกันสามารถตอบคำถามในแบบสอบถามวัดระดับเชาวน์ปัญญาได้แตกต่างกัน IQ = Intelligence Quotient = MA/CA x 100 MA = อายุสมอง CA = อายุจริง 5

ซอบรี อายุ 10 ปี ตอบคำถามแบบทดสอบของเด็กอายุ 12 ปี IQ = 12/10 x 100 = 120 6

ระดับ IQ IQ ความหมาย ร้อยละ 160-169 อัจฉริยะ 0.03 150-159 0.2 140-149 1.1 130-139 ฉลาดมาก 3.1 120-129 8.2 110-119 ฉลาดกว่าปกติ 18.1 100-109 ปานกลาง 23.5 90-99 23.0 7

ระดับ IQ 80-99 ต่ำกว่าปานกลาง 14.5 70-79 คาบเส้นปัญญาอ่อน 5.6 80-99 ต่ำกว่าปานกลาง 14.5 70-79 คาบเส้นปัญญาอ่อน 5.6 30-39 ปัญญาอ่อน 2.63 8

ลักษณะของเด็กเชาวน์ปัญญาดี 1. กระตือรือร้นที่จะอ่านหนังสือทุกประเภท 2. กระตือรือร้นที่เรียนวิทยาศาสตร์และวรรณคดี 3. ตอบคำถามได้อย่างรวดเร็ว ว่องไว 4. มีความสนใจกว้างขวาง

5. ชอบเสี่ยงหรือทดลองสิ่งใหม่ๆ 6. อารมณ์มั่นคงไม่หวั่นไหว 7. ชอบทำอะไรด้วยตนเอง 8. มีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง

9. มีวินัยในตนเอง ไม่ต้องให้คนอื่นบังคับ 10. มีความคิดริเริ่ม 11. มีความคิดสร้างสรรค์ 12. แสดงออกทางคำพูดและท่าทางได้ดี 13. เล่าสิ่งที่ตัวเองจินตนาการได้ดี

14. ช่างซักถาม 15. ชอบใช้ความคิดพิจารณา 16. กระตือรือร้นที่ได้พบสิ่งใหม่ 17. เล่าที่ค้นพบด้วยน้ำเสียงที่ตื่นเต้น

ลักษณะของครูที่จะสอนเด็กปัญญาเลิศ ต้องรู้จริง รู้ลึก เข้าใจจิตวิทยาพัฒนาการ มีทักษะในการผลิตสื่อ มีทักษะในการถามอธิบาย เป็นคนชอบแนะมากกว่าชอบสั่ง เป็นครูประสบผลสำเร็จในการสอนชั้นปกติแล้ว

แนวทางการสอนเด็กปัญญาเลิศ 1. เตรียมเนื้อหามามากพอทั้งแนวกว้างและแนวลึก 2. เตรียมแบบฝึกหัดไว้จำนวนมากไว้ล่วงหน้า 3. ให้โอกาสผู้เรียนทำงานหรือศึกษาในสิ่งที่เขาสนใจอย่างเต็มที่ 4. ยอมรับจุดด้อยจุดเด่นของผู้เรียน 5. ให้งานหรือแบบฝึกหัดมากกว่าเด็กปกติ 6. เน้นคุณภาพของงานมากกว่าปริมาณ

7. ส่งเสริมให้เด็กพึ่งตนเอง 8. ให้เด็กมีอิสระในการมีปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มเพื่อน 10. ให้รู้เกณฑ์ที่ครูต้องการ 11. รับฟังและสนทนาในเนื้อหาที่ลึกซึ้ง

12. ให้เด็กสามารถติดต่อกับครูให้มากที่สุด 13. ตอบคำถามด้วยความเมตตา 14. ถามในเชิงเปิดกว้าง 15. ตระเตรียมแหล่งความรู้เสริม 16. ปฏิบัติเหมือนเด็กทั่วๆไป 17. ส่งเสริมให้เด็กคิดสิ่งต่างๆอย่างลึกซึ้ง

18. เปิดให้เด็กค้นหาคำตอบที่เขาสนใจ แล้วให้รายงาน 19. ให้เด็กรู้จักรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น 20. เมื่อเด็กทำสิ่งใดสำเร็จ ให้กระตุ้นให้เขาเลื่อนระดับสู่ที่สูงขึ้น 21. เสริมแรงเมื่อเด็ก ทำสำเร็จ

สิ่งที่ครูไม่ควรปฏิบัติในการสอนเด็กปัญญาเลิศ ให้เด็กแยกตัวเพื่อเป็นศิลปินเดี่ยว ให้เด็กรู้สึกอิ่มในงาน ปิดปากเด็กไม่ให้พูด ไม่ควรพูดว่า “ให้คอยหาคำตอบในบทเรียนต่อไป” ถามเฉพาะเด็กปัญญาเลิศ ออกคำสั่ง ให้เขารู้สึกว่าเขาแตกต่างจากคนอื่น แสดงให้เขาเด็กเห็นว่า ครูชื่นชอบเด็กปัญญาเลิศ

แสดงให้เด็กคนอื่นเห็นว่า ผลงานของเด็กปัญญาเลิศแปลกกว่าของคนอื่น ใช้ให้เด็กปัญญาเลิศทำหน้าที่แทนครู ปกป้องเด็กปัญญาเลิศ ให้เรียนหนักเกินไป ให้ทำงานซ้ำๆ ทึกทักว่าเด็กปัญญาเลิศต้องรู้ทุกเรื่อง

ลักษณะของเด็กที่มีเชาว์ปัญญาต่ำ 1. เมื่อเจอปัญหา จะรู้สึกท้อถอย หรือเกิดความเครียด 2. ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง 3. ขาดการนับถือตนเอง 4. มีความจำสั้น 5. มีความใส่ใจสั้น 6. ไม่สามารถสำรวมได้นาน

แนวทางการสอนเด็กสติปัญญาต่ำ 1. ก่อนสอนต้องเตรียมความพร้อมของนักเรียนก่อน และควรประเมินความพร้อมไปทุกๆระยะ 2. กำหนดจุดมุ่งหมายทั่วๆไป 3. กำหนดจุดมุ่งหมายเฉพาะ เน้นเฉพาะที่เด็กทำได้ และไม่มากจนเกินไป 4. เนื้อหาต้องไม่มาก เน้นกิจกรรมและการฝึกปฏิบัติ

5. ไม่สอนข้ามขั้น สอนทุกๆขั้น สร้างความเชื่อมโยงระหว่างขั้นอย่างชัดเจน 6. ย้ำเนื้อหา หรือการปฏิบัติซ้ำๆ ในเรื่องเดิมด้วยหลากหลายวิธี

7. ถ้าเห็นว่าเด็กตามสิ่งที่ครูสอนไม่ทัน ให้กลับไปสอนใหม่ 8. กระตุ้นความสนใจอย่างสม่ำเสมอ 9. การให้งาน ต้องเป็นงานง่ายๆ พอเหมาะ 11. สร้างความใกล้ชิดกับผู้เรียน

ซักถาม-อภิปราย