หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเขียนผลงานวิชาการ
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
G N L เรื่องที่น่าชื่นชม ยินดี การเรียนรู้ใหม่ ๆ ความคาดหวัง Greeting
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง ข้าวสาลีมีความสำคัญต่อ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
โรงเรียนศรีวัฒนาบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยีนานาชาติ
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
การวางแผนและการดำเนินงาน
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
กระบวนการวิจัย Process of Research
ทักษะการคิดวิเคราะห์
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
การเขียน.
การเขียนรายงาน.
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
การฟังเพลง.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
การอ่านเชิงวิเคราะห์
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิธีการคิดวิเคราะห์.
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๓ ENL 3701
ENL 3701 Unit 2 การอ่านคืออะไร
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
ENL 3701 Unit 7 ปัญหาการอ่านในระยะเริ่ม เรียน. ลักษณะการอ่านเบื้องต้น หรือระยะเริ่มเรียน Beginning Reading (in English) Beginners in Reading – นักเรียนในชั้น.
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
Mind Mapping แผนที่ความคิดในการตอบคำถาม
คำถามที่ให้ช่วยกันหาคำตอบ
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ENL 3701 เนื้อหา ๑ ภาษาคืออะไร.
หัวข้อการบรรยาย ENL 3701 Week #2
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5 รศ. ดร. อุทัย ภิรมย์รื่น

ระบบความหมายกับการอ่าน ๑. สามเหลี่ยมของความหมาย (Semantic triangle) จากแนวคิดของ Ogden & Richard ความหมายเกิดจากองค์ประกอบพื้นฐาน ๓ อย่าง จะขาดอย่างใดอย่างหนึ่งไม่ได้ กล่าวคือ ๑.๑ การเรียกชื่อ (Naming) ๑.๒ แนวคิดหรือความคิดรวบยอด (Concepts) ๑.๓ ความสำนึกและการอ้างอิง (Sense and Reference)

ชนิดของความหมาย (Kinds of Meaning) มีปัจจัยหลายอย่างที่เกี่ยวข้องกับความหมาย จึงทำให้ความหมายมีหลายชนิด สรุปแล้ว มี ๒ อย่างคือ ๑. ความหมายตามตัวหนังสือ (Literal meaning, Denotative meaning) ๒. ความหมายโดยนัย ( Associative meaning, Connotative meaning) ความหมายประการที่ ๒ ไปเกี่ยวโยงกับเรื่องอื่น เป็นความหมายที่เกิดจากตัวผู้ใช้ภาษาซึ่งนำเอาความคิดของตัวเองเข้าไปเปรียบเทียบ ทำให้ตีความไปได้หลายอย่าง

ความหมายเกิดจากหลายปัจจัย ๑. ทางความคิด (Ideational meaning) มีหลากหลาย ขึ้นอยู่กับความคิดของผู้ใช้ภาษา ๒. ความคิดภายในส่วนบุคคล (Inter-personal meaning) ซึ่งแสดงออกมาทางการพูด การสนทนาในโอกาสต่างๆ ๓. ทางอารมณ์ หรือการประเมินผล (Emotive or Evaluative) ๔. ความสัมพันธ์ทางสังคม (Social relations) ๕. โดยนัย (Implication) การเปรียบเทียบ ใช้ตรรกะหรือเหตุผลอ้างอิง ๖. การมีข้อสันนิษฐานไว้ล่วงหน้า (Presupposition)

ความหมายที่เป็นพื้นฐานในการอ่าน ความรู้เรื่องความหมายช่วยให้เกิดความเข้าใจจากการอ่าน ซึ่งประกอบด้วยบริบท (context) ต่างๆเป็นตัวชี้แนะด้านความหมาย ได้แก่ ๑. บริบททางภาษา (Language context) เช่น บริบทที่ให้ความหมาย เป็นพวกคำต่างๆที่นำมาพูดหรือเขียน การจัดกลุ่มคำ โวหารหรือสำนวนพูด การจัดระเบียบคำกับไวยากรณ์ เป็นต้น ๒. บริบทนอกเหนือจากภาษา (Non-linguistic context) เช่น การตัดขาดจากบริบท สถานการณ์ต่างๆ พฤติกรรมที่แสดงออกมา และสัมพันธภาพทางภาษา เป็นต้น

ความหมายของคำและประโยค คำเป็นหน่วยของความหมาย เมื่อนำมาประกอบกันเข้ามีความหมายสมบูรณ์ขึ้น จึงเป็นประโยค และมีใจความต่อเนื่องกันไป เป็นเรื่องราวต่างๆ คำมีหลายรูป มีความหมาย ทั้งในตัวของมันเอง และหน้าที่ทางไวยากรณ์ เช่น คำพ้องความหมาย คำตรงกันข้าม คำคู่ คำที่เทียบเคียงกันไม่ได้ คำที่มีหลายรูป เป็นต้น

ประโยคและความหมาย ประโยค (Sentence) เกิดขึ้นได้ในหลายลักษณะ การแปลความหมายของประโยค เกิดขึ้นได้ในหลายลักษณะ เช่น ประโยคพื้นฐาน และประโยคที่เปลี่ยนแปลงหรือปริวรรตไปตามกฏที่เขียนขึ้นมาจากลุ่มคำต่าง เพื่อสร้างความหมาย มีทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างประโยคอยู่ ๒ กลุ่มใหญ่ๆ คือทฤษฎีเกี่ยวกับการแปรเปลี่ยนของรูปประโยค ทำให้เกิดความหมายใหม่ขึ้นมา (Transformative grammar or Syntactic Grammar) ความหมายเกิดจากคำที่เป็นการกระทำ แล้วมีความสัมพันธ์กับคำอื่นๆ เกิดเป็นประโยคขึ้นมา (Case Grammar or Semantic-generative Grammar)

การวิเคราะห์ประโยค การวิเคราะห์ประโยคเพื่อหาความหมายทำได้หลายวิธี เพื่อการอ่านแบบมีวิจารณญาณ (Critical reading) เช่น ๑. Projection rules การวิเคราะห์ส่วนประชิดของประโยคเพื่อพิจารณาความหมายว่าผิดปกติ (Anomalous)หรือกำกวม (Ambiguous) หรือไม่ ๒.Predicate calculus การวิเคราะห์ส่วนสมบูรณ์ ว่ามีการวางข้อเสนอ (Proposition) อะไรไว้บ้าง ๓. ลักษณะที่เป็นเชิงวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ ๔. ระบบความหมายและไวยากรณ์

หัวข้อการอภิปรายและตอบคำถาม ๑. ความหมายเกิดขึ้นได้อย่างไร มีส่วนประกอบที่สำคัญอย่างไรบ้าง ๒. การแปลความหมายของคำมีหลักการวิเคราะห์อย่างไรบ้าง ๓. ทำไมคำจึงมีหลายความหมายได้ ยกตัวอย่างประกอบด้วย ๔. การอ่านต้องอาศัยบริบทอะไรบ้างจึงจะช่วยให้เข้าใจความหมายได้อย่างสมบูรณ์ ๕. มีหลักในการวิเคราะห์ความหมายของประโยคในการพูดและการเขียน หรือไม่ และทำได้อย่างไร