โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน โครงสร้างต้นทุน 1. ต้นทุนคงที่ (fixed cost: FC) และต้นทุนคงที่รวม (total cost: TFC) 2. ต้นทุนผันแปร (total variable cost: TVC) 2.1 กรณีต้นทุนผันแปรต่อหน่วยคงที่ 2.2 กรณีต้นทุนผันแปรต่อหน่วยเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างต้นทุน (ต่อ) 3. ต้นทุนรวม (total cost: TC) 3.1 กรณีต้นทุนผันแปรต่อหน่วยคงที่ 3.2 กรณีต้นทุนผันแปรต่อหน่วยเปลี่ยนแปลง 4. ต้นทุนคงที่เฉลี่ยต่อหน่วย (average fixed cost: AFC) 5. ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย (average variable cost: AVC)
โครงสร้างต้นทุน (ต่อ) 6. ต้นทุนเฉลี่ย ((average cost: AC) หรือต้นทุนรวม เฉลี่ย (average total cost: ATC) 7. ต้นทุนส่วนเพิ่มหรือต้นทุนหน่วยสุดท้าย (marginal cost: MC)
วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุน 1. วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุนเฉลี่ย (average cost pricing) หรือต้นทุนเต็มจำนวน (full cost pricing) 2. วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุนผันแปรเฉลี่ย (average variable cost pricing) หรือต้นทุนที่เพิ่มขึ้น (incremental cost pricing)
วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุน (ต่อ) 3. วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุนส่วนเพิ่ม (marginal cost pricing) วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากราคาขาย วิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากราคาขาย (mark up on selling price หรือ mark up pricing) เป็นการตั้งราคาแบบบวก กำไรส่วนเพิ่มเข้าไปในราคาขาย
วิธีการตั้งราคาแบบลูกโซ่ (ต่อ) วิธีการตั้งราคาแบบลูกโซ่ในช่องทางการจัดจำเหน่าย (mark up chain pricing หรือ mark up through a channel of distribution)
ข้อดีและข้อเสียของการตั้งราคาโดยมุ่งที่ต้นทุน 1. ข้อดี 1.1 เป็นเกณฑ์ที่ชัดเจนในการตั้งราคาได้สะดวก 1.2 เป็นวิธีที่สามารถกำหนดได้ชัดเจนว่าธุรกิจจะมี กำไรเท่าไร 1.3 ทำให้ธุรกิจได้ใช้ประโยชน์สูงสุดจากโครงสร้าง ต้นทุน โดยธุรกิจจะได้เปรียบจากการตั้งราคาให้เหมาะสม ตามต้นทุนที่เปลี่ยนแปลง
ข้อดีและข้อเสียของการตั้งราคาโดยมุ่งที่ต้นทุน 2. ข้อเสีย 2.1 เมื่อต้นทุนเปลี่ยนแปลงธุรกิจต้องต้องเปลี่ยนแปลง ราคาตามไปด้วย ทำให้ธุรกิจต้องสามารถเปลี่ยนแปลงราคาได้ ทันที 2.2 อาจผิดพลาดโดยคำนวณต้นทุนทุกประเภทไม่ ครอบคลุม เช่น ต้นทุนด้านการตลาด (ต้นทุนการวิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ และต้นทุนการส่งเสริมการตลาด) ต้นทุนแรงงาน และ ต้นทุนค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เป็นต้น
กลยุทธ์การตั้งราคาโดยใช้จุดคุ้มทุน 1. แนวความคิดเกี่ยวกับจุดคุ้มทุน 1.1 จุดค้มทุน (break-even point) 1.2 รายได้รวม (total revenue: TR) 1.3 ต้นทุนรวม (total cost: TC) 2. วิธีการคำนวณจุดคุ้มทุนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ชนิดเดียว 3. วิธีการคำนวณจุดคุ้มทุนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หลายชนิด
วิธีการตั้งราคาจากการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนเมื่อราคา และอุปสงค์เปลี่ยนแปลง 1. คาดคะเนปริมาณความต้องการซื้อสินค้า 2. คำนวณต้นทุนรวมที่เกิดขึ้นจากปริมาณการผลิต 3. คำนวณหากำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นในแต่ละ ระดับราคา 4. ตัดสินใจเลือกระดับราคาที่ทำให้เกิดกำไรสูงสุด 5. คำนวณจุดคุ้มทุนในแต่ละระดับราคา
วิธีการตั้งราคาจากการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน แบบเส้นโค้ง 1. การคำนวณหารายได้รวมที่เกิดจากราคาต่อหน่วย 2. การคำนวณต้นทุนรวม 3. การคำนวณกำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นในแต่ละ ระดับราคา