กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
การเขียนผลงานวิชาการ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ง า น วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การวางแผนและการดำเนินงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
“Backward” Unit Design?
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การหาหัวข้อวิจัยจากทฤษฎีและ งานวิจัยที่ผ่านมา. ทฤษฎีคืออะไร ?
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การปลูกพืชผักสวนครัว
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทักษะการคิดวิเคราะห์
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
หลักการแก้ปัญหา
บทที่ 11.
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิธีสอนแบบอุปนัย.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา

หัวใจของการสอนคณิตศาสตร์ การสอนความคิดรวบยอด 1 การสอนทักษะการคิดคำนวณ 2 การแก้โจทย์ปัญหา / สถานการณ์ 3

การสอนคิดรวบยอด มี 2 วิธีใหญ่ๆ คือDeductiveและInductive นำเสนอข้อมูล หรือตัวอย่างต่างๆ มี 2 วิธีใหญ่ๆ คือDeductiveและInductive โดยแต่ละวิธีมีขั้นตอนดังนี้ ให้ผู้เรียนสังเกตข้อมูล หรือตัวอย่าง พร้อมจำแนกความเหมือน ให้ความคิดรวบยอด/หลักการ Deductive Inductive ให้ตัวอย่างและสิ่งที่ไม่ใช่ตัวอย่าง สรุปความคิดรวบยอด/หลักการ จากข้อมูลหรือตัวอย่าง ฝึกใช้ความคิดรวบยอด/หลักการ กับตัวอย่างใหม่ๆ ฝึกใช้ความคิดรวบยอด/ หลักการกับตัวอย่างใหม่ สรุปความคิดรวบยอด/หลักการ ที่ได้เรียนมาอีกครั้ง

การสอนทักษะการคิดคำนวณ 1. เชื่อมโยงการฝึกทักษะ คิดคำนวณกับโจทย์ปัญหา/สถานการณ์เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้เด็กเรียนรู้ และเคยชินความสัมพันธ์ระหว่างตัวเลข เครื่องหมายและปัญหา/สถานการณ์ 2. ฝึกให้คิดประมาณคำตอบ การประมาณหรือคะเนคำตอบอย่างคร่าวๆ เป็นสิ่งจำเป็น และเป็นประโยชน์มากในสถานการณ์จริง และบางครั้ง ยังเป็นตัวช่วยเตือนให้ทราบว่า คำตอบจริงที่เราคำนวณได้ถูกหรือผิด 3. ฝึกให้คิดประเมินตนเอง การคิดคำนวณอย่างสม่ำเสมอเป็นสิ่งจำเป็น การฝึกคิดในใจ หรือทำแบบฝึกทักษะเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง และประเมินความสามารถของตนเองด้วยว่า ควรปรับปรุงแก้ไข หรือพัฒนาทักษะเรื่องใด อย่างไร

การแก้โจทย์ปัญหา/ สถานการณ์ โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ มีความหลากหลาย พอจะจัดแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังต่อไปนี้ เป็นโจทย์ปัญหาที่ปรากฏในหนังสือเรียนระดับชั้นต่างๆ ซึ่งเป็นโจทย์ปัญหาที่เตรียมขึ้นเพื่อรองรับ และพัฒนาทักษะการคิดคำนวณในแต่ละเนื้อหาสาระ ดังนั้นการคำตอบของโจทย์ปัญหาประเภทนี้ จึงใช้วิธีที่เป็นข้อกำหนดกฎเกณฑ์เดิมๆ ไม่ติองใช้ความสามารถใดๆ ที่แปลกใหม่ไปจากเดิม 1. โจทย์ปัญหา ในชั้นเรียน มักไม่สามรถหาคำตอบได้โดยการคิดคำนวณหาคำตอบตามวิธีที่เคยใช้อยู่เดิม แต่ผู้แก้ปัญหามักต้องใช้ความคิด การวางแผน การใช้เหตุผลในการตัดสินใจเป็นสำคัญ และคำตอบที่ได้อาจมีมากกว่า 1 คำตอบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโจทย์ หรือสถานการณ์ที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันไป 2. โจทย์ปัญหา ที่เน้นกระบวนการ แก้ปัญหา

ขั้นตอนการสอนโจทย์ปัญหา 1. ทำความเข้าใจกับปัญหา - โจทย์บอกอะไร - โจทย์ถามอะไร ขั้นตอนการสอนโจทย์ปัญหามี 4 ขั้นตอน 2. ขั้นวางแผนแก้ปัญหา พิจารณาดูว่า ข้อมูลที่โจทย์กำหนดให้มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันอย่างไร คำตอบควรเป็นเช่นไร ก็จะตัดสินใจเลือกวิธีหาคำตอบ (บวก ลบ คูณ หาร) 4. ขั้นทบทวนปัญหาและคำตอบ 3. ขั้นลงมือแก้ปัญหา - ตอบคำถามได้ตรงตามที่โจทย์ต้องการหรือไม่ คิดคำนวณได้ถูกต้องหรือไม่ ฝึกพิจารณาความเป็นไปได้ของคำตอบที่คำนวณได้ สอดคล้องกับข้อมูลของโจทย์หรือไม่ - ฝึกทดลองหาคำตอบด้วยวิธีอื่นๆ เพื่อยืนยันความถูกต้องของคำตอบที่คำนวณได้ ฝึกให้รู้จักประมาณคำตอบ ฝึกให้ตรวจสอบการคิดคำนวณทุกขั้นตอน ฝึกให้ตรวจสอบคำตอบที่ได้ ว่ามีเหตุผลสอดคล้องกับข้อมูลของโจทย์ ฝึกให้สรุปคำตอบให้ชัดเจน และตรงกับโจทย์ถาม

การสอนชั้นป.1

การสอนชั้นป.2

การสอนชั้นป.3

การสอนชั้นป.4

การสอนชั้นป.5

การสอนชั้นป.6

Add Your Company Slogan ขอบคุณค่ะ