กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
หัวใจของการสอนคณิตศาสตร์ การสอนความคิดรวบยอด 1 การสอนทักษะการคิดคำนวณ 2 การแก้โจทย์ปัญหา / สถานการณ์ 3
การสอนคิดรวบยอด มี 2 วิธีใหญ่ๆ คือDeductiveและInductive นำเสนอข้อมูล หรือตัวอย่างต่างๆ มี 2 วิธีใหญ่ๆ คือDeductiveและInductive โดยแต่ละวิธีมีขั้นตอนดังนี้ ให้ผู้เรียนสังเกตข้อมูล หรือตัวอย่าง พร้อมจำแนกความเหมือน ให้ความคิดรวบยอด/หลักการ Deductive Inductive ให้ตัวอย่างและสิ่งที่ไม่ใช่ตัวอย่าง สรุปความคิดรวบยอด/หลักการ จากข้อมูลหรือตัวอย่าง ฝึกใช้ความคิดรวบยอด/หลักการ กับตัวอย่างใหม่ๆ ฝึกใช้ความคิดรวบยอด/ หลักการกับตัวอย่างใหม่ สรุปความคิดรวบยอด/หลักการ ที่ได้เรียนมาอีกครั้ง
การสอนทักษะการคิดคำนวณ 1. เชื่อมโยงการฝึกทักษะ คิดคำนวณกับโจทย์ปัญหา/สถานการณ์เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้เด็กเรียนรู้ และเคยชินความสัมพันธ์ระหว่างตัวเลข เครื่องหมายและปัญหา/สถานการณ์ 2. ฝึกให้คิดประมาณคำตอบ การประมาณหรือคะเนคำตอบอย่างคร่าวๆ เป็นสิ่งจำเป็น และเป็นประโยชน์มากในสถานการณ์จริง และบางครั้ง ยังเป็นตัวช่วยเตือนให้ทราบว่า คำตอบจริงที่เราคำนวณได้ถูกหรือผิด 3. ฝึกให้คิดประเมินตนเอง การคิดคำนวณอย่างสม่ำเสมอเป็นสิ่งจำเป็น การฝึกคิดในใจ หรือทำแบบฝึกทักษะเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง และประเมินความสามารถของตนเองด้วยว่า ควรปรับปรุงแก้ไข หรือพัฒนาทักษะเรื่องใด อย่างไร
การแก้โจทย์ปัญหา/ สถานการณ์ โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ มีความหลากหลาย พอจะจัดแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังต่อไปนี้ เป็นโจทย์ปัญหาที่ปรากฏในหนังสือเรียนระดับชั้นต่างๆ ซึ่งเป็นโจทย์ปัญหาที่เตรียมขึ้นเพื่อรองรับ และพัฒนาทักษะการคิดคำนวณในแต่ละเนื้อหาสาระ ดังนั้นการคำตอบของโจทย์ปัญหาประเภทนี้ จึงใช้วิธีที่เป็นข้อกำหนดกฎเกณฑ์เดิมๆ ไม่ติองใช้ความสามารถใดๆ ที่แปลกใหม่ไปจากเดิม 1. โจทย์ปัญหา ในชั้นเรียน มักไม่สามรถหาคำตอบได้โดยการคิดคำนวณหาคำตอบตามวิธีที่เคยใช้อยู่เดิม แต่ผู้แก้ปัญหามักต้องใช้ความคิด การวางแผน การใช้เหตุผลในการตัดสินใจเป็นสำคัญ และคำตอบที่ได้อาจมีมากกว่า 1 คำตอบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโจทย์ หรือสถานการณ์ที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันไป 2. โจทย์ปัญหา ที่เน้นกระบวนการ แก้ปัญหา
ขั้นตอนการสอนโจทย์ปัญหา 1. ทำความเข้าใจกับปัญหา - โจทย์บอกอะไร - โจทย์ถามอะไร ขั้นตอนการสอนโจทย์ปัญหามี 4 ขั้นตอน 2. ขั้นวางแผนแก้ปัญหา พิจารณาดูว่า ข้อมูลที่โจทย์กำหนดให้มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันอย่างไร คำตอบควรเป็นเช่นไร ก็จะตัดสินใจเลือกวิธีหาคำตอบ (บวก ลบ คูณ หาร) 4. ขั้นทบทวนปัญหาและคำตอบ 3. ขั้นลงมือแก้ปัญหา - ตอบคำถามได้ตรงตามที่โจทย์ต้องการหรือไม่ คิดคำนวณได้ถูกต้องหรือไม่ ฝึกพิจารณาความเป็นไปได้ของคำตอบที่คำนวณได้ สอดคล้องกับข้อมูลของโจทย์หรือไม่ - ฝึกทดลองหาคำตอบด้วยวิธีอื่นๆ เพื่อยืนยันความถูกต้องของคำตอบที่คำนวณได้ ฝึกให้รู้จักประมาณคำตอบ ฝึกให้ตรวจสอบการคิดคำนวณทุกขั้นตอน ฝึกให้ตรวจสอบคำตอบที่ได้ ว่ามีเหตุผลสอดคล้องกับข้อมูลของโจทย์ ฝึกให้สรุปคำตอบให้ชัดเจน และตรงกับโจทย์ถาม
การสอนชั้นป.1
การสอนชั้นป.2
การสอนชั้นป.3
การสอนชั้นป.4
การสอนชั้นป.5
การสอนชั้นป.6
Add Your Company Slogan ขอบคุณค่ะ