Electrical Engineering Mathematic

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
ระบบจำนวนจริง(Real Number)
เลขยกกำลัง.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
แปลคำศัพท์สำคัญ Chapter 2 หัวข้อ 2. 1 – 2
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
เวกเตอร์และสเกลาร์ ขั้นสูง
CS Assembly Language Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
ระบบเลข และการแทนรหัสข้อมูล
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การตวง ความหมายของการตวง -    การตวง    คือ    การวัดปริมาณของสิ่งของต่างๆหรือหาความจุของภาชนะต่างๆ เครื่องตวง -    เครื่องที่เป็นมาตรฐาน    เช่น   
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
จำนวนเชิงซ้อน โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
A.1 Real Numbers and Their Properties
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
Introduction to Digital System
CHAPTER 8 Sinusoids and Phasors
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
อสมการ (Inequalities)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
ตัวดำเนินการ(Operator)
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ตัวดำเนินการในภาษาซี
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
โดย : อาจารย์พงศกร ละฟู่ สังกัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
Electrical Circuit Analysis 2
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชัน
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระบบเลขฐาน
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
Electrical Engineering Mathematic
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Electrical Engineering Mathematic 11-210-321 คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า พินิจ เนื่องภิรมย์

Complex Number คอมเพล็กซ์นัมเบอร์ หรือ จำนวนเชิงซ้อน คือ ตัวเลขที่ประกอบไปด้วยจำนวนจริง (Real Number) และจำนวนจินตภาพ (Imaginary Number) เพื่อใช้เป็นตัวช่วยในการวิเคราะห์ระบบต่าง ๆ

Complex Number จากค่า เป็นจำนวนที่ไม่ใช่จำนวนจริง นักคณิตศาสตร์ จึงตั้งชื่อว่า จำนวนจริงลบ หรือ จำนวน จินตภาพ และใช้สัญลักษณ์ i หรือ j แทนค่า ดังกล่าว

Complex Number รูปแบบของจำนวนเชิงซ้อน เมื่อ Z คือจำนวนเชิงซ้อน a คือ จำนวนจริง jb คือ จำนวนจินตภาพ รูปแบบของจำนวนเชิงซ้อนยังสามารถแยกออกเป็น # กรณี a และ b ไม่เท่ากับศูนย์ เรียกว่าจำนวนเชิงซ้อน

Complex Number รูปแบบของจำนวนเชิงซ้อน รูปแบบของจำนวนเชิงซ้อนยังสามารถแยกออกเป็น # กรณี a เท่ากับศูนย์และ b ไม่เท่ากับศูนย์ เรียกว่าจำนวนจินตภาพ # กรณี a ไม่เท่ากับศูนย์และ b เท่ากับศูนย์ เรียกว่าจำนวนจริง

Complex Number 1.1 การบวกจำนวนเชิงซ้อน 1.1 การบวกจำนวนเชิงซ้อน ลักษณะการบวกกัน ของจำนวนเชิงซ้อน มีหลักการคือ ให้นำส่วนที่เป็นจำนวนจริงมาบวกกัน และนำส่วนที่เป็นจำนวนจินตภาพมาบวกกัน แล้วนำจำนวนทั้งสองมาเขียนในรูปของจำนวนเชิงซ้อน ตัวอย่างที่ 1.1 จงหาผลลัพธ์จากการบวกกันของจำนวนเชิงซ้อน Z1 และ Z2 เมื่อ Z1 = 3 + j4 และ Z2 = 5 + j6 ตัวอย่างที่ 1.2 จงหาผลลัพธ์จากการบวกกันของจำนวนเชิงซ้อน Z1 และ Z2 เมื่อ Z1 = 90 + j100 และ Z2 = j20

Complex Number 1.2 การคูณจำนวนเชิงซ้อน 1.2 การคูณจำนวนเชิงซ้อน ตัวอย่างที่ 1.3 จงหาผลลัพธ์จากการคูณกันของจำนวนเชิงซ้อน Z1 และ Z2 เมื่อ Z1 = 3 + j4 และ Z2 = 5 + j6 ตัวอย่างที่ 1.4 จงหาผลลัพธ์จากการบวกกันของจำนวนเชิงซ้อน Z1 และ Z2 เมื่อ Z1 = 90 + j100 และ Z2 = j20

Complex Number 1.3 การลบจำนวนเชิงซ้อน 1.3 การลบจำนวนเชิงซ้อน การลบจำนวนเชิงซ้อน ใช้หลักการเดียวกันกับการบวกคือ นำจำนวนจริง ลบกับจำนวนจริง และจำนวน จินตภาพลบกับจำนวนจินตภาพ ตัวอย่างที่ 1.5 จงหาผลลัพธ์จากการลบกันของจำนวนเชิงซ้อน Z1 และ Z2 เมื่อ Z1 = 3 + j4 และ Z2 = 5 + j6

Complex Number 1.4 การหารจำนวนเชิงซ้อน 1.4 การหารจำนวนเชิงซ้อน สังยุคของจำนวนเชิงซ้อน Conjugate) ถ้า Z = a + jb เป็นจำนวนเชิงซ้อนใด ๆ สังยุคของ Z จะเขียนได้ดังนี้ กรณีที่สังยุคคูณกันจะได้ การหารจำนวนเชิงซ้อน ให้นำสังยุคของส่วนของจำนวนเชิงซ้อน มาคูณทั้งเศษและส่วน

Complex Number ตัวอย่างที่ 1.6 จงหาผลลัพธ์จากการหารกันของจำนวนเชิงซ้อน Z1 และ Z2 เมื่อ Z1 = 3 + j4 และ Z2 = 5 + j6 ตัวอย่างที่ 1.7 จงหาผลลัพธ์จากการหารกันของจำนวนเชิงซ้อน Z1 และ Z2 เมื่อ Z1 = j4 + 9 และ Z2 = 5 - j6

Complex Number 1.5 เฟสเซอร์ในรูปคอมเพลกซ์นัมเบอร์ การเขียนเฟสเซอร์แทนปริมาณ กระแส หรือแรงดัน ของไฟสลับ ในวงจรไฟฟ้า จะสามารถแยกพิจารณาออกเป็น สองลักษณะ คือ 1) การเขียนเฟสเซอร์ในรูปของโพล่าร์ฟอร์ม (Polar Form) 2) การเขียนเฟสเซอร์ในรูปของเรคแทงกิวล่าร์ฟอร์ม (Rectangular Form)

Complex Number 1.6 เฟสเซอร์ในรูปแบบของโพล่าร์ฟอร์ม

Complex Number 1.7 เฟสเซอร์ในรูปแบบของเรคแทงกิวล่าร์ฟอร์ม

Complex Number 1.8 การเปลี่ยนเฟสเซอร์ 1.8 การเปลี่ยนเฟสเซอร์ 2.4.1 การเปลี่ยนโพล่าร์ฟอร์มเป็นเรคแทงกิวล่าฟอร์ม

Complex Number 1.8 การเปลี่ยนเฟสเซอร์ 1.8 การเปลี่ยนเฟสเซอร์ 2.4.1 การเปลี่ยนโพล่าร์ฟอร์มเป็นเรคแทงกิวล่าฟอร์ม

Complex Number 1.8 การเปลี่ยนเฟสเซอร์ 1.8 การเปลี่ยนเฟสเซอร์ 2.4.1 การเปลี่ยนโพล่าร์ฟอร์มเป็นเรคแทงกิวล่าฟอร์ม

Complex Number 1.8 การเปลี่ยนเฟสเซอร์ 1.8 การเปลี่ยนเฟสเซอร์ 2.4.2 การเปลี่ยนเรคแทงกิวล่าฟอร์มเป็นโพล่าร์ฟอร์ม

Complex Number 1.8 การเปลี่ยนเฟสเซอร์ 1.8 การเปลี่ยนเฟสเซอร์ 2.4.2 การเปลี่ยนเรคแทงกิวล่าฟอร์มเป็นโพล่าร์ฟอร์ม

Complex Number 1.9 เลขคณิตของเฟสเซอร์

Complex Number 1.9 เลขคณิตของเฟสเซอร์

Complex Number 1.9 เลขคณิตของเฟสเซอร์

Complex Number 1.9 เลขคณิตของเฟสเซอร์

Complex Number 1.9 เลขคณิตของเฟสเซอร์

Complex Number 1.9 เลขคณิตของเฟสเซอร์

Complex Number 1.10 แบบฝึกหัด 1) จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้ 2) จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้

Complex Number 1.10 แบบฝึกหัด 3) จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้ 4) จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้

Complex Number 1.10 แบบฝึกหัด 5) จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้ 6) จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้

Complex Number 1.10 แบบฝึกหัด 7) จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้

Complex Number 1.10 แบบฝึกหัด 8) จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้

Complex Number 1.10 แบบฝึกหัด 9) จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้

Complex Number 1.10 แบบฝึกหัด 10) จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้

Complex Number 1.10 แบบฝึกหัด 11) จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้

Complex Number 1.10 แบบฝึกหัด 12) จงเปลี่ยนปริมาณ ให้อยู่ในรูปของเรคแทงกิวล่าร์ ฟอร์ม

Complex Number 1.10 แบบฝึกหัด 13) จงเปลี่ยนปริมาณ ให้อยู่ในรูปของโพล่าร์ ฟอร์ม