Hospital Acquired Pneumonia and Ventilator Associated Pneumonia

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การแพ้ยาข้ามกลุ่ม.
การศึกษาการใช้ Tienam ในผู้ป่วยโรคติดเชื้อภายในโรงพยาบาล
Sulperazon.
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
กฎหมายทางการแพทย์ End-of-life Care
สมมุติว่าขณะนี้เป็นเวลาประมาณหกโมงเย็นและคุณกำลังขับรถกลับบ้านคนเดียวหลังจากเสร็จสิ้นวันทำงานอันแสนเหน็ดเหนื่อย คุณรู้สึกเหนื่อยล้าและคับข้องใจเป็นอย่างมาก…
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
Management of Pulmonary Tuberculosis
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
การรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน
โรคคอตีบ (Diphtheria)
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง สมเหตุผลในโรคติดเชื้อทางเดิน
ระบาดวิทยาโรคปอดบวมของจังหวัดเพชรบุรี
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
แนวทางการให้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและทารกในกรณีต่างๆ
คณะกรรมการกำกับและประเมินการใช้ยา
รายงาน DUE เสนอ PTC 4 มิถุนายน 2552.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
Dip.Thai Broad Preventive Medicine
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กรกฎาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
โครงการ ส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน มกราคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
Tonsillits Pharynngitis
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
Q Fever. Holly Deyo, URL:
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน ธันวาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2558 เดือน ตุลาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2558 เดือน พฤศจิกายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน พฤษภาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
SEPSIS.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน สิงหาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน เมษายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Hospital Acquired Pneumonia and Ventilator Associated Pneumonia Thananont Krittayawiwat., MD. Donchedi Hospital , Supanburi 16 June 2011

HAP / VAP HAP : ปอดอักเสบ ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย หลังจากรับไว้รักษาตัวในรพ. ตั้งแต่ 48 ชม. ขึ้น ไป VAP : ปอดอักเสบที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยหลังใส่ท่อช่วยหายใจ ตั้งแต่ 48 ชม. ขึ้นไป จนถึง 48 ชม. หลังถอดเครื่องช่วยหายใจ ( ET-T, Orotracheal / Nasotracheal / Tracheostomy ) Early Onset : เกิดหลังรับไว้ในรพ. 48 ชม. – 4 วัน Late Onset : เกิดหลังรับไว้ในรพ.นานกว่า 4 วัน ไม่รวม HIV, มะเร็ง, เคมีบำบัดต่างๆ

เกณฑ์การวินิจฉัย 1. ต้องส่ง CXR ต้องมี New Infiltration หรือ Progression จาก CXR 2. ต้องมี 2 ใน 3 ข้อของต่อไปนี้ 2.1 ไข้ที่เกิดขึ้นใหม่ หรือ สูงขึ้นกว่าเดิม 2.2 เสมหะคล้ายหนอง Purulent Sputum ( คือมีลักษณะของเสมหะ เหมาะสมต่อการส่งตรวจ Gram stain และ C/S นั่นคือ Neutrophil > 25 cell/LPF + Squamous Epithelial Cell < 10 cell/LPF) (กรณีไม่ได้ ATB ภายใน 72 ชม.) 2.3 ต้องส่ง CBC และ มี WBC > 12,000 หรือ < 4000

ถ้าไม่มีเกณฑ์เหล่านี้จะเกิดอะไรขึ้น 1. ไม่ต้องเอาถึง 2 ใน 3 ข้อ จะทำให้ Sensitivity สูงขึ้น แต่ Specificity ต่ำลง ผลคือ : Empirical Antibiotic Tx จะสูงขึ้น นำไปสู่การดื้อยา... 2. เอาให้ครบทุกข้อเลย... Specificity จะสูงมาก แต่ Sensitivity จะลดลง ผลคือ : Under Diagnosis, ได้ยาช้าเกินไป 3. ทำตามแนวทาง มี sens ที่ 69% , Spec อยู่ที่ 75%

อาการและอาการแสดง เสมหะเยอะ ข้นเหนียว ไอมากขึ้น เหนื่อยหอบ ระบบหายใจล้มเหลว ซึมลง โดยเฉพาะในผู้ใหญ่ที่อายุ > 70 ปี ไข้สูง ตรวจพบ Dyspnea,Hypoxia, Air Hunger, Cyanosis, Respiratory Failure Rales / Crepitation , Signs of Effusion

Differencial Diagnosis CHF Atelectesis Pulmonary Embolism ARDS ปอดอักเสบ จากสาเหตุอื่นๆ

Modified CPIS (Clinical Pulmonary Infection Score) Singh และคณะ ใช้สำหรับ 1. วินิจฉัย HAP/ VAP 2. จำกัดการใช้ยาปฏิชีวนะ เกินความจำเป็น

อธิบาย ข้อ 4 ค่า FiO2 (fraction of inspired oxygen) : ความเข้มข้นหรือ สัดส่วนของก๊าซออกซิเจนในลมหายใจเข้า เช่น ในอากาศทั่วไป จะมี O2 อยู่ 21% ก๊าซอื่นๆอีก 79% ดังนั้นค่า FiO2 ของ RoomAir จะมีค่าปกติเท่ากับ 0.21 ถ้าเราสามารถเพิ่ม O2 ให้อากาศที่เราจะสูดดมเข้าปอดเราให้มากขึ้นได้ ด้วยวิธีใดๆก็ตาม ค่า FiO2 ที่เราจะได้ก็จะมากขึ้นด้วย

ส่วนค่า PaO2 : Partial pressure of arterial oxygenation คือแรงดันของออกซิเจนที่ละลายอยู่ในพลาสมา เป็นตัวบอกให้ทราบถึงภาวะออกซิเจนในร่างกาย. โดยปกติ หาก O2 Sat 95% ขึ้นไป จะเท่ากับค่า PaO2 80-100 mmHg O2 Sat 94% = PaO2 80 mmHg O2 Sat 90% = PaO2 60 mmHg O2 sat 75% = PaO2 40 mmHg O2 Sat 50% = PaO2 27 mmHg ความคลาดเคลื่อนของค่า O2 sat โดยเฉลี่ยจะ + 2% ดังนั้นหากอ่านค่า SpO2 ได้ร้อยละ 96 หมายถึงผู้ป่วย อาจมีระดับ PaO2 ระหว่าง 80 มม. ปรอท (SaO2 ร้อยละ 94) ถึง 150 มม.ปรอท (SaO2 ร้อยละ 98)

ข้อ 4 : Oxygenation PaO2/FiO2 เช่น ถ้าคนไข้รายนี้ สงสัย HAP หายใจเหนื่อย O2Sat = 90% ขณะ on O2 canula 4LPM จะคำนวนค่า PaO2/FiO2 ได้ = 60/0.36 = 166.67 ได้ mCPIS ข้อ4 = 2 แต้ม เป็นต้น

วิธีใช้ ประเมิน 2 ครั้ง : ครั้งแรก ในวันแรกที่สงสัย HAP/VAP (ส่ง CXR + Sputum Gramstain + Sputum C/S + CBC+วัด O2Sat) ครั้งที่ 2 ในวันที่ 3 หลังวินิจฉัย (ตามผล Sputum C/S และ ส่ง CXR ซ้ำ) 1. ถ้าครั้งแรก คะแนน > 6 แต้ม = วินิจฉัย HAP/VAP ได้ สามารถให้ Antibiotic Empirical ได้ (หรือให้ ที่ Cover เชื้อที่ย้อม Gram เจอ) ถ้าคะแนน < 6 แต้ม = ไม่วินิจฉัย และไม่ต้องให้ Antibiotic, ให้หาสาเหตุอื่น 2. ถ้าวันแรก > 6 แต้ม วินิจฉัย HAP/VAP แล้ว ประเมินครั้งที่ 2 (อีก 3วันถัดมา) ให้ส่ง CXR + ตามผล C/S ถ้า ยัง > 6 แต้ม ให้ Continue ATB ต่อไปจนครบระยะ ถ้า < 6 แต้ม ให้หยุด Antibiotic ที่ให้อยู่ได้

การให้ยาฆ่าเชื้อ Empirical Antibiotics mCPIS > 6 แต้ม ในครั้งแรก ระหว่างรอผล C/S HAP/VAP ปัจจัย 1. ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดเชื้อดื้อยา 2. ประวัติเชื้อ/ความชุก/อุบัติการณ์ของ HAP/VAP ของแต่ละรพ. 3. ขนาดของรพ. 4. Sense จากผล C/S ปรับลด Antibiotic เป็นตัวที่รายงานผล ตาม Sense

พิจารณาเชื้อ Haemophilus influenzae และ Streptococcus pneumoniae แบคทีเรียทั้ง 2 ชนิดจะถูกกำจัดไปอย่างรวดเร็วมาก Enterobacteriaceae, S. aurues และ Pseudomonas aeruginosa จะถูกกำจัดได้ช้ากว่า การตอบสนองทางคลินิกในทุกปัจจัยจะเกิดภายใน 6 วัน หลังการให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม ว่าการให้ยาปฏิชีวนะนานเพียง 8 วัน ก็ได้ผลการรักษาเท่าเทียมกันการให้ยานาน 14 วัน แนวโน้มที่จะมีการกลับเป็นซ้ำ (relapse) สูงในกลุ่มผู้ป่วยที่แบคทีเรียก่อโรคเป็น P. aeruginosa หรือAcinetobacter spp. HAP, VAP จากเชื้อ P. aeruginosa หรือ Acinetobacter spp. ใช้ระยะเวลาเฉลี่ย 8 วันโดยมีอัตราการเสียชีวิต การกลับเป็นซ้ำ ระยะเวลาการนอน โรงพยาบาลไม่เพิ่มขึ้น

ระยะเวลาให้ Antibiotic HAP หรือ VAP ในกรณีที่ไม่ใช่ P. aeruginosa หรือ Acinetobacter spp. เป็นระยะเวลา 7-10 วัน ตอบสนอง : ไข้ ปริมาณเสมหะ ระดับอ็อกซิเจนในเลือด จำนวนเม็ดเลือดขาวในเลือด และ infiltrate เดิมไม่ลามเพิ่มขึ้นในภาพถ่ายรังสีทรวงอก กรณีเป็น P.aeruginosa หรือ Acinetobacter spp. ให้ยานาน 14 วัน

เชื้อต่อไปนี้รุนแรงและมีปัญหาการดื้อยาสูง P. aeruginosa เลือกใช้ : β-lactam / Antipseudomonal Cephalosporin/carbapenem Acinetobacter spp. เลือกใช้ : carbapenem ดิ้อ carbapenem ใช้ : sulbactam, polymyxins, colistin, tigecycline และ fosfomycin แนะนำ : ควรเลือกใช้ Sulperazon+ (Amikin หรือ Ciprofloxacin) และกรณีมี incident MRSA สูง ควร + Vancomycin

เชื้อต่อไปนี้รุนแรงและมีปัญหาการดื้อยาสูง Extended-spectrum β-lactamase (ESBL)- producing Enterobacteriaceae เลือกใช้ : carbapenem ได้แก่ ertapenem (ถ้าไม่มีปัจจัยเสี่ยงที่จะติดเชื้อ P. aeruginosa, Acinetobacter spp.) หรือใช้ imipenem, meropenem S. aureus ที่ดื้อ methicillin (methicillin-resistant S. aureus, MRSA) เลือกใช้ : Vancomycin หรือ teicoplanin

ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดแบคทีเรียสายพันธุ์ที่ดื้อยาหลายกลุ่ม (multidrug-resistant strains) ที่ก่อโรคปอดอักเสบในโรงพยาบาลหรือที่เกี่ยวข้องกับเครื่องช่วยหายใจ 1. มีประวัติได้รับยาปฏิชีวนะภายใน 90 วันก่อนเกิดปอดอักเสบ 2. ขณะนี้รักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลตั้งแต่ 5 วันขึ้นไป 3. มีความชุกสูงของแบคทีเรียสายพันธุ์ที่ดื้อยาและก่อโรคในโรงพยาบาลแห่งนั้น 4. ได้รับยาเคมีบำบัดหรือการรักษาที่กดภูมิคุ้มกัน

empirical สำหรับ HAP หรือ VAP

Tazocin Sulperazon

Hospital acquired pneumonia (HAP)/ Ventilator associated pneumonia (VAP) 1.1) Early-onset (admit  4 วัน) : ควรเลือกใช้ Ceftriazone, Cefotaxime, Ciprofloxacin, Amoxicillin+Clavulanic acid, Ampicillin+Sulbactam 1.2) Late-onset : ควรเลือกใช้ Ceftazidime หรือ Tazocin+(Amikacin หรือ Ciprofloxacin) หรือ Tienam (ไม่ควรใช้ Levofloxacin เนื่องจาก %susceptible ใกล้เคียงกับ Ciprofloxacin และราคาแพงกว่ามาก)

 Ampicillin + Sulbactam (Unasyn®) 3 g  Cefoperazone + Sulbactam (Sulperazon®) 1.5 gm  Colistin (Colistrate®) 150 mg  Ertapenem (Invanz®) 1 g Fosfomicin (Fosmicin®) 1 g  Imipenem + Cilastatin (Tienam®) 500 mg  Levofloxacin (Cravit®) 750 mg  Meropenem (Meronem®) 1 g  Piperacillin + Tazobactam (Tazocin®) 4.5 g  Vancomycin 500 mg

จบข่าว