หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
การวิเคราะห์ความเร็ว
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
เวกเตอร์และสเกลาร์ ขั้นสูง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมและการชน.
หันหน้าไปทางทิศเหนือ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
บทที่ 1เวกเตอร์สำหรับฟิสิกส์ จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 3 ชั่วโมง
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
ร่องน้ำปากน้ำชุมพร เรือ ต.๘๑.
เวกเตอร์(Vector) โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
ระบบอนุภาค.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
Force Vectors (1) WUTTIKRAI CHAIPANHA
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
Electrical Circuit Analysis 2
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่
พีระมิด.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
โลกและสัณฐานของโลก.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์ หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์

ประเภทของปริมาณทางฟิสิกส์ 1. ปริมาณพื้นฐาน (basic quantity) 2. ปริมาณอนุพันธ์ (derived quantity) ปริมาณพื้นฐาน : เป็นปริมาณที่ได้จากการวัดโดยตรง เช่น มวลและความยาว ปริมาณอนุพันธ์ : เป็นปริมาณที่ได้จากการนำปริมาณพื้นฐานมาผสมผสานกัน เช่น แรงและงาน

ปริมาณพื้นฐาน 7 ชนิด

ปริมาณอนุพันธ์

คำอุปสรรค (prefixes) ใช้นำหน้าหน่วยเพื่อความสะดวกในการบอกขนาดของหน่วยที่มีขนาดใหญ่หรือเล็กมากๆ

ชนิดของปริมาณทางฟิสิกส์ 1. ปริมาณสเกลาร์ (scalar quantity) 2. ปริมาณเวกเตอร์ (vecter quantity) ปริมาณสเกลาร์ : บอกขนาดอย่างเดียว ก็มีความหมายสมบูรณ์ เช่น ระยะทางและอัตราเร็ว ปริมาณเวกเตอร์ : ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะมีความหมายสมบูรณ์ เช่น การกระจัดและความเร็ว *** การรวมปริมาณสเกลาร์สามารถรวมกันทางพีชคณิต เพื่อหาขนาดอย่าง เดียวแต่การรวมปริมาณเวกเตอร์ต้องพิจารณาทิศทางด้วย

ความสัมพันธ์ระหว่างด้านและมุมของสามเหลี่ยม กฎของไซน์ (sine’s law ) กฎของโคไซน์ (cosine’s law )

จากรูปจะได้มุม ABC = 180 – 60 = 120o ตัวอย่างที่ 1.1 รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ไปทางทิศเหนือด้วยระยะทาง 20 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายไปตามเส้นทางที่ทำมุม60๐ กับแนวทิศเหนือเป็นระยะ 15 กม. จงหาระยะทางและ การกระจัดของการเคลื่อนที่ของรถยนต์ วิธีทำ 1. เขียนกราฟแสดงการเคลื่อนที่ของรถยนต์ : C B A 20 km. 60o N E 15 km. จากรูปจะได้มุม ABC = 180 – 60 = 120o

2. คำนวณระยะทางของการเคลื่อนที่ : ระยะทาง = AB + BC = 20 + 15 = 35 m. 3. คำนวณการกระจัดของการเคลื่อนที่ : การกระจัด : จากรูป แทนค่า :

วิธีทำ 1. เขียนกราฟแสดงการเคลื่อนที่ของเรือ ตัวอย่างที่ 1.2 ถ้าเรือลำหนึ่งแล่นข้ามลำน้ำซึ่งกว้าง 100 เมตร ด้วย อัตราเร็ว 0.5 เมตร/วินาที โดยหันหัวเรือทวนน้ำ 60๐ เทียบกับชายฝั่ง ปรากฏว่าเรือแล่นข้ามลำน้ำในทิศตั้ง ฉากกับฝั่งพอดี อยากทราบว่าจะใช้เวลานานเท่าไรใน การข้ามลำน้ำ และกระแสน้ำมีความเร็วเท่าไร วิธีทำ 1. เขียนกราฟแสดงการเคลื่อนที่ของเรือ สามเหลี่ยม ABC จะเป็นสามเหลี่ยมแทนความเร็วที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของเรือ โดยมี B C A 60o 0.5 m/s 100 m ความเร็วของเรือ = 0.5 m/s ความเร็วของกระแสน้ำ ความเร็วในการข้ามลำน้ำของเรือ

2. คำนวณความเร็วในการข้ามลำน้ำของเรือ จากสามเหลี่ยม ABC : 3. หาเวลาในการข้ามลำน้ำ : จาก เวลา = ระยะทาง = 100 m ความเร็ว 0.433 m/s = 230.9 m 4. หาความเร็วกระแสน้ำ : จาก = 0.25 m/s

องค์ประกอบของเวกเตอร์ในระบบพิกัดฉาก x y เราสามารถแยกเวกเตอร์ A เป็นเวกเตอร์องค์ประกอบ ในระบบพิกัดฉากได้ดังรูป ขนาดของเวกเตอร์องค์ประกอบ : ขนาดและทิศทางของเวกเตอร์ A :

แบบฝึกหัด Quarterback ทำการขว้างลูกฟุตบอลไปยังปีกโดยเริ่มต้นถอยหลัง ในแนวตั้งฉากกับแนวรุกเป็นระยะ 10 หลาและวิ่งไปทางด้านข้าง ขนานกับแนวรุกเป็นระยะ 15 หลาก่อนที่จะขว้างลูกฟุตบอลไปด้าน หน้าตั้งฉากกับแนวรุกได้ระยะ 50 หลา จงหาการกระจัดของลูกบอลนับจากจุดเริ่มต้น 2. สถานีเรดาร์ตรวจจับจรวดกำลังเคลื่อนที่มาจากทิศตะวันออก จุด ตรวจจับครั้งแรกจรวจอยู่ห่าง 9,000 เมตร ที่ 40 องศาเหนือท้องฟ้า จรวดถูกตรวจจับครั้งที่ 2 เมื่อเรดาร์กวาดมุมได้ 123 องศาในระนาบ ตะวันออก-ตะวันตก ที่ระยะ 20,000 เมตร จงหาการกระจัดของ จรวดในช่วงการตรวจจับทั้งสอง