บทที่ 4 การดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SET Listing Requirements 2005
Advertisements

ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
ค่าของทุน The Cost of Capital
สมาชิกเลือกนโยบายลงทุนด้วยตนเอง นำเสนอต่อ
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
นโยบายการเปิดเสรีทางการเงินโลก
บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน(บบส
Advance Excel.
“โครงการบ้านมิตรภาพ สปส.-ธอส.”
“สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย”
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
Revision Problems.
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
Basel II : นาย พงษ์พันธ์ ชูรัตนสิทธิ์
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร. กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร.
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
การจัดส่งแบบรายงาน Basel II
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
บทที่ 4 งบการเงิน.
ธุรกิจบ้านจัดสรรกับการเลือกซื้อของผู้บริโภค
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างสรุปข้อมูลผลงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น
ประโยชน์ของ REIT อสังหาริมทรัพย์ และนำไปปล่อยเช่าเพื่อให้มีรายได้
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ปรับปรุงครั้งล่าสุดเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
Financial Management.
เรียน ท่านสมาชิก สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจภูธรจังหวัดเชียงราย จำกัด
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
การตรวจสอบภายในหลังเปิด AEC
ลักษณะสำคัญของการซื้อขายล่วงหน้า
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
Risk Management Strategy
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
นางสาววิไลวรรณ แซ่เตีย รองประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi.
1.
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
"การบริหารจัดการ ธุรกิจสินเชื่อสหกรณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
Home Builder Industrial. จุดเด่นของธุรกิจรับ สร้างบ้าน ธุรกิจที่ไม่ได้อาศัยเงินลงทุนสูง เข้ามาดำเนินธุรกิจง่าย ตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภค แบบบ้านที่สามารถ.
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 การดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์

หลักเกณฑ์การกำกับดูแลเงินกองทุนสำหรับธพ หลักเกณฑ์การกำกับดูแลเงินกองทุนสำหรับธพ.( ประกาศที่ 12,13/2555 วันที่ 8 พ.ย. 2555)

Basel II คืออะไร Basel II เป็นเกณฑ์มาตรฐานสากลอันหนึ่งที่ผู้กำกับดูแลใน ประเทศต่าง ๆ นำมาปรับใช้ในการกำกับดูแลการบริหารความเสี่ยง ของสถาบันการเงิน ด้วยการกำหนด ให้สถาบันการเงินมีเงินกองทุน เพียงพอที่จะรองรับความเสี่ยงหรือความเสียหายที่ไม่ได้คาดการณ์ไว้ ซึ่งการที่จะดูว่ามีเงินกองทุนเพียงพอหรือไม่ จะต้องดูว่ามีเงินกองทุน เท่าใด และมีความเสี่ยงอยู่เท่าใด ทั้งนี้ สถาบันการเงินจะต้องพัฒนา เครื่องมือการติดตามดูแลการดำเนินธุรกิจของตนเองว่ามีความเสี่ยง ในด้านใด มากน้อยแค่ไหน รวมถึงทำอย่างไรจึงจะลดความเสี่ยงนั้น ได้

ความเป็นมาของ Basel II แรกเริ่มนั้น คณะกรรมการชุดหนึ่งชื่อว่า Basel Committee on Banking Supervision (BCBS) ซึ่งมีสำนักงาน เลขานุการประจำอยู่ที่ The Bank for International Settlements (BIS) ในเมือง Basel ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อกำหนดมาตรฐานการกำกับดูแลสถาบันการเงินที่เป็น สากลเพื่อความมั่นคงและความเสมอภาคในการแข่งขันของสถาบัน การเงินต่าง ๆ ทั่วโลก โดยหนึ่งในมาตรฐานนั้นคือ เกณฑ์การกำกับดูแล เงินกองทุนที่เรียกว่า Basel Capital Accord หรือ Basel I

ความเป็นมาของ Basel II คณะกรรมการ BCBS ได้พัฒนาการกำกับดูแลเงินกองทุนไปอีกขั้นหนึ่ง โดยกำหนดเกณฑ์ Basel II ขึ้นมา ซึ่งในเกณฑ์ Basel II นั้น จะไม่ได้ กำหนดเพียงแค่เรื่องของปริมาณเงินกองทุนที่ต้องมีสำหรับความเสี่ยงจาก การปล่อยสินเชื่อ แต่จะเน้นความสำคัญของการบริหารความเสี่ยง (Risk management) ของสถาบันการเงินด้วย โดยกำหนดให้สถาบันการเงินต้องประเมินว่าระดับความเสี่ยงของตนเองมีอยู่ เท่าใด เงินกองทุนที่มีอยู่เพียงพอที่จะรองรับความเสี่ยงเหล่านั้นหรือไม่ ดังนั้น เกณฑ์ Basel II จึงเหมือนกับการก้าวไปข้างหน้าอีกขั้นหนึ่ง และ ถือได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงทั้งโครงสร้าง (Structural change) ของระบบการบริหารความเสี่ยงของสถาบันการเงิน

เงินกองทุนส่วนเพิ่ม (Capital buffer) 1. เงินกองทุนส่วนเพิ่มเพื่อรองรับผลขาดทุนในภาวะวิกฤต (Conversation buffer) 2. เงินกองทุนส่วนเพิ่มเพื่อรองรับความเสี่ยงเชิงระบบที่อาจเกิดขึ้นในช่วงเศรษฐกิจ ขาลง (Countercyclical buffer) เพื่อให้สอดคล้องกับความเสี่ยงที่เป็นระบบ (System-wide risk) เช่น เศรษฐกิจมี การเติบโตของสินเชื่ออย่างมาก (Excessive credit growth) ซึ่งธปท.จะ ประกาศเป็นคราวๆไป

โดยให้เพิ่มปีละมากกว่าร้อยละ 0.625 ตั้งแต่ 1 ม.ค.59 จนครบ ในปี 2562

เงินกองทุนชั้นที่ 1 ประกอบไปด้วย 1. เงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของ (Common equity tier 1: CET1) ประกอบด้วยหุ้นสามัญและกำไรสะสมเป็นสำคัญ 2. เงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นตราสารทางการเงิน (Additional tier 1) เช่น เงินที่ได้จากการออกหุ้นบุริมสิทธิชนิดไม่สะสมเงินปันผล

เช่น เงินที่ได้จากการออกหุ้นบุริมสิทธิชนิดสะสมเงินปันผล

สินทรัพย์เสี่ยงด้านเครดิต

เกณฑ์การกำกับดูแลการให้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของธ.พาณิชย์ เพื่อให้เกิดความระมัดระวังในการปล่อยสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ธปท.จึง ปรับเกณฑ์ในเดือนพ.ย. 2553 ให้ครอบคลุมการให้สินเชื่อเพื่อซื้อที่อยู่ อาศัยที่มีราคาต่ำกว่า 10 ล้านบาทด้วย กำหนดให้มี อัตราส่วนเงินให้ สินเชื่อต่อมูลค่าหลักประกัน (Loan to Value: LTV ratio) ตามตาราง สินเชื่อที่มีวงเงินน้อยกว่า 10 ล้านบาท คิดเป็น 93 % วงเงิน มากกว่า 10 ล้านบาทคิดเป็น 7% ของสินเชื่อทั้งหมด หากธนาคารปล่อยสินเชื่อมากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ธพ.จะต้องมี เงินกองทุนเพิ่มขึ้น โดยคำนวณตามน้ำหนักความส่วน (Risk Weight: RW) และตามเกณฑ์กันสำรอง Basel III (เงินกองทุน ต่อสินทรัพย์เสี่ยงไม่ต่ำกว่า 8.5%)

เกณฑ์การกำกับดูแลการให้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของธ.พาณิชย์ ทำไมเกณฑ์สำหรับ แนวสูงกับ แนวราบ จึงแตกต่างกัน?

ตัวอย่าง ถ้าธพ.ให้สินเชื่อแก่ลูกค้าซื้อคอนโดมิเนียม 1 ล้าน ธพ. จะต้องมี เงินกองทุนเท่ากับ ยอดสินเชื่อ x RW x เกณฑ์สำรอง Basel II ซึ่งหากลูกค้าวางดาวน์มากกว่า 10% (LTV น้อยกว่า 90%) ธพ.ต้องมี เงินกันเข้ากองทุน = 29,750 บาท = 1,000,000 x 35/100 x 8.5/100 หากลูกค้าวางดาวน์น้อยกว่า 10 % (LTV มากกว่า 90%) ธพ.ต้องมี เงินกองทุนมากขึ้น = 1,000,000 x 75/100 x 8.5/100 = 63,750 บาท

ข้อดีของ การปฏิบัติตาม Basel III ซึ่งมาตรการนี้จะจำกัดการปล่อยสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของธพ. ลง โดย เลือกที่จะปล่อยกู้ไม่เกิน 90% มากขึ้น (สำหรับแนวสูง) ซึ่งหมายความ ว่าลูกค้าเองต้องวางเงินดาวน์ไม่ต่ำกว่า 10 % ซึ่งจะส่งผลดีต่อตัวลูกค้าเอง คือ 1) ภาระการผ่อนชำระลดลง 2) ลดโอกาสการเก็งกำไรเนื่องจากต้องมีเงินดาวน์ > 10 % ซึ่งก็จะส่งผลให้โครงการได้ลูกค้าที่มีคุณภาพมากขึ้น ลดโอกาสเป็น NPLของสถาบันการเงิน ในที่สุดก็ช่วยให้การปล่อย สินเชื่อที่อยู่อาศัยทั้งระบบมีความเสี่ยงลดลงนั่นเอง

สินทรัพย์เสี่ยงด้านการตลาด

สินทรัพย์เสี่ยงด้านการตลาด

มูลค่าเทียบเท่าสินทรัพย์เสี่ยงด้านปฏิบัติการ