บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการหาทางเลือกที่ดีที่สุด(optimization)
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
Lesson 11 Price.
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
กลไกราคากับผู้บริโภค
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การผลิตและต้นทุนการผลิต
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
ต้นทุนการผลิต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต.
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ การคำนวณรายรับประเภทต่างๆ 1. รายรับรวมทั้งหมด (Total Revenue : TR)

2. รายรับเฉลี่ยต่อหน่วย (Average Revenue : AR)

3. รายรับส่วนเพิ่มหรือรายรับหน่วยสุดท้าย (Marginal Revenue : MR)

รายรับเฉลี่ยต่อหน่วย แสดงความสัมพันธ์ระหว่างรายรับประเภทต่างๆ ในกรณีราคาขายของสินค้าไม่คงที่ ราคา (P) ปริมาณขาย (Q) รายรับรวม (TR = P x Q) รายรับเฉลี่ยต่อหน่วย (AR = = P) รายรับส่วนเพิ่ม MR = 10 1 9 2 18 8 3 24 6 7 4 28 5 30 -2

แสดงความสัมพันธ์ระหว่างรายรับประเภทต่างๆ กรณีราคาขายของสินค้าคงที่ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างรายรับประเภทต่างๆ กรณีราคาขายของสินค้าคงที่ ราคา (P) ปริมาณซื้อ (Q) รายรับรวม (TR = P x Q) รายรับเฉลี่ยต่อหน่วย (AR = P = ) รายรับส่วนเพิ่ม MR = 10 1 2 20 3 30 4 40 5 50

ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นรายรับรวม รายรับเฉลี่ย รายรับส่วนเพิ่มและเส้นอุปสงค์ ในกรณีราคาขายของสินค้าไม่คงที่ ปริมาณสินค้า รายรับ 0 6 5 10 30 TR MR AR = P = D แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเส้นรายรับประเภทต่างๆ และเส้นอุปสงค์กรณีราคาขาย ของสินค้าไม่คงที่ ในกรณีที่ราคาขายของสินค้าเปลี่ยนแปลงไปในสัดส่วนเดียวกันแล้วค่าความชันของเส้น MR จะมี ค่าเป็น 2 เท่าของเส้น AR เสมอ

ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นรายรับรวม รายรับเฉลี่ย รายรับส่วนเพิ่มและเส้นอุปสงค์ ในกรณีราคาขาย ของสินค้าคงที่ ปริมาณสินค้า รายรับ TR 10 AR = MR = P = D แสดงความสัมพันธ์ของเส้นราคา (P) เส้นรายรับเฉลี่ย(AR) เส้นรายรับส่วนเพิ่ม(MR) และเส้นอุปสงค์(D) ในกรณีราคาสินค้าคงที่ แสดงเส้นรายรับรวม(TR)ในกรณีราคาขายของสินค้าคงที่ ( )

กำไรทางเศรษฐศาสตร์และเงื่อนไขกำไรสูงสุด ในการดำเนินธุรกิจของผู้ผลิตหรือผู้ประกอบการ กำไรทางเศรษฐศาสตร์แบ่งออกได้ 2 ลักษณะ คือ - กำไรปกติ (Normal Profit) - กำไรเกินปกติ (Abnormal or Excess Profit)

กำไรปกติ (Normal Profit) คือ การที่ต้นทุนรวมของผู้ประกอบการเท่ากับ รายรับรวม (TR = TC) กำไรจะเท่ากับศูนย์ กำไรเกินปกติ (Abnormal or Excess Profit) คือ ผลรวมขอรายรับรวมมากกว่าต้นทุนรวมซึ่งก็คือ กำไรส่วนที่เกินจาก กำไรปกติ นั่นเอ

เงื่อนไขของการได้รับกำไรสูงสุด TC กำไร,รายรับ,ต้นทุน A D C B TR E ปริมาณสินค้า Q กำไรรวม แสดงกำไรรวมมีค่าสูงสุด

END