บทที่ 3 การจ่ายงาน (Process Management).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Advertisements

Introduction to C Introduction to C.
โปแกรมยูทิลิตี้ บทที่ 11.
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
กระบวนการ (Process).
ส่วนประกอบของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8
The Management of Distributed Transaction
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
โปรแกรมจำลองการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
เอกสารฉบับนี้ได้มาจากอินเทอร์เน็ต chandra. ac
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล
บทที่ 5 การทำงานแบบวนซ้ำ
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
Operating System ฉ NASA 4.
SCC : Suthida Chaichomchuen
หน่วยความจำเสมือน Virtual Memory.
การทำงานของคอมพิวเตอร์
โครงสร้างการทำงานของ OS
ระบบปฏิบัติการ ผู้สอน ผศ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร chandra. ac
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
แนะนำรายวิชา ระบบปฏิบัติการ ภาคเรียนที่ 1/2557
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ไมโครคอนโทรลเลอร์เบื้องต้น
CPU ไม่รวม I/O PROCESSOR , MATH CO-PROCESSOR
Memory Management ในยุคก่อน
CSC431 Computer Network System
Charter 11 1 Chapter 11 ระบบปฏิบัติการ Operation System : OS.
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 5 ระบบปฏิบัติการและ หลักการทำงานเบื้องต้น
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
ภาวะติดตาย (Deadlock)
Deadlocks รูปแบบของปัญหา (System Model)         กระบวน การหนึ่งๆ จะต้องร้องขอใช้ทรัพยากรก่อนที่จะได้ใช้ทรัพยากรก่อนได้ใช้ทรัพยากรนั้น.
บทที่ 7 Deadlock Your company slogan.
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
Process.
ผู้จัดทำ นางสาว สุทธิดา แสงอุไร มัธยมศึกษาปีที่ 4/2 เลขที่ 27.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
SPECK COMPUTER จัดทำโดย นางสาวแพรไหม หลวงสิงห์ไชย.
การทำงานของคอมพิวเตอร์
TCP Protocol.
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
หลักการแก้ปัญหา.
Interrupt.
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
นางสาวกนกอร ศิริอำนาจ กลุ่ม 2.  บทที่ 7 หน้า 237 ในหนังสือเรียนโอเอส ใน บทนี้จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ deadlocks คือ สิ่งที่น่าจะ รู้อยู่แล้ว ก็คือ.
Operating System.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ 1 บทที่ 1 แนะนำเทคโนโลยีจาวา Introduction to Java Technology.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Operating System
การจัดการโปรเซส T.Kunlaya Charoenmongkonvilai
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การจ่ายงาน (Process Management)

พื้นฐานกรทำงานของคอมพิวเตอร์ หัวใจในการทำงานของระบบปฏิบัติการ คือ การจัดการให้งานหรือโปรแกรมต่าง ๆ ของผู้ใช้ และโปรแกรมของระบบสามารถทำงานได้ เพื่อให้สามารถมองเห็นโครงสร้างและหลักการทำงานของระบบปฏิบัติการได้อย่างชัดเจน

นิยามความหมายของโปรเซส (Process) เป็นโปรแกรมที่กำลังทำงาน เป็นส่วนของโปรแกรมที่กำลังทำงาน งานที่ได้ครองซีพียู

การจัดการกับโปรเซส สร้างโปรเซสและยกเลิกโปรเซส ควบคุมการทำงานของโปรเซส ควบคุมความผิดพลาดแต่ละโปรเซส เตรียมทรัพยากรใช้งานแต่ละโปรเซส ควบคุมการสื่อสารระหว่างโปรเซส

รูปแบบของโปรเซส แสดงการทำงานของระบบหลายโปรแกรม โดยโปรเซสแต่ละโปรเซสที่ทำงานอยู่จะถูกเก็บในหน่วยความจำ ระบบจะทำงานทีละโปรเซสและ สลับการทำงานไปยังโปรเซสอื่น ๆ ใน ระบบ และวนกลับมาใหม่เรื่อย ๆ จนกระทั่งเสร็จงาน One Program Counter Process Switch A B C D

โปรแกรมเคาเตอร์ (Program Counter) รูปแบบของโปรเซส Four Program Counter A B C D แสดงการทำงานของแต่ละโปรเซสในมุมมองของผู้ใช้ แต่ละโปรเซสจะทำงานอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าซีพียูจะมีการสลับเวลาไปทำงานให้กับโปรเซสอื่น โปรเซสที่เหลือจะคอยลำดับงานเพื่อรอการทำงาน เมื่อได้ครองซีพียูและวนรอบกลับมาทำงาน จะทำงานจุดเดิมที่ค้างไว้ โปรแกรมเคาเตอร์ (Program Counter)

รูปแบบของโปรเซส A B C D Time Process แสดงการทำงานของโปรเซส จะเห็นว่าในช่วงเวลาหนึ่งจะมีเพียงโปรเซสเดียวเท่านั้นที่ได้ครองซีพียู ในขณะที่โปรเซสอื่นต้องคอยที่จะครองซีพียู

สถานะของโปรเซส (Process Status) สถานะการทำงาน (Running) สถานะพร้อม (Ready) สถานะติดขัด (Blocked) หรือ สถานะพัก (Suspend)

สถานะของโปรเซส (Process Status) สถานะการทำงาน (Running) เป็นสถานะที่โปรเซสกำลังครอบครองซีพียูอยู่ และใช้ซีพียู ในการทำงาน โดยใช้ซีพียูทำงานตามคำสั่งในโปรแกรมของโปรเซสนั้น

สถานะของโปรเซส (Process Status) สถานะพร้อม (Ready) เป็นสถานะที่โปรเซสคอยที่จะเข้าครองซีพียู หรือพร้อม ที่จะใช้ซีพียูทันทีที่ระบบปฏิบัติการมอบหมายให้ในสถานะนี้ไม่มีการทำงานของโปรเซส แต่การทำงานจะเกิด ขึ้นทันทีที่ได้ครองซีพียู โดยจะทำงานต่อจากงานเดิมที่ทำค้างไว้

สถานะของโปรเซส (Process Status) สถานะติดขัด (Blocked) หรือ สถานะพัก (Suspend) เป็นสถานะที่โปรเซสติดต่อกับอุปกรณ์ หรือคอยเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งให้เกิดขึ้น โปรเซสในสถานะนี้ไม่จำเป็นต้องใช้ซีพียูและยังไม่พร้อมที่จะครอบครองซีพียู และเมื่อติดต่อกับอุปกรณ์เสร็จแล้ว หรือได้เหตุการณ์ที่คอยแล้วก็จะกลับเข้ามาในสถานะพร้อม เพื่อคอยการเข้าครองซีพียูเพื่อใช้ในการทำงานต่อไป

ภาพแสดงการเปลี่ยนสถานะของโปรเซส พร้อม สร้าง รอ เสร็จสิ้น ทำงาน ขัดจังหวะ รับโปรเซส ออกจากระบบ การเลือกจ่ายงาน ของกำหนดการ I/O เรียบร้อย

สถานะของโปรเซส (Process Status) เมื่อผู้ใช้สั่งงานผ่านระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการจะมีการเตรียมการสร้างโปรเซสให้กับงานใหม่ที่ส่งเข้ามา โดยโปรเซสที่เข้ามาใหม่ จะเริ่มต้นเป็นโปรเซสในสถานะติดขัดก่อน

ส่วนประกอบของโปรเซส ข้อมูลเพื่อการจัดการโปรเซส ข้อมูลเพื่อการจัดการหน่วยความจำ ข้อมูลเพื่อการจัดการแฟ้ม Register Program counter Program status word Stack pointer Process state Time when process started CPU time used Children's CPU time Time of next alarm Message queue pointer Pending signal bits Process id Various flag bits for Process management Pointer to text segment Pointer to data segment Pointer to bss segment Exit status Signal status Process id Parent process Process group Real uid Effective uid Real gid Effective gid Bit maps for signals Various flag bits for memory management UMASK mask Root directory Working directory File descriptors Effective uid Effective gid System call parameters Various flag bits for File management

ข้อมูลเพื่อการจัดการโปรเซส ค่ารีจีสเตอร์ ทำการเก็บค่าต่าง ๆ ที่ทำงานค้างไว้ในรีจีสเตอร์ ก่อนที่จะปลดปล่อยซีพียู เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการทำงานต่อเมื่อได้ครองซีพียูอีกครั้ง โปรแกรมเคาเตอร์ เพื่อเก็บตำแหน่งปัจจุบันของการทำงานไว้ และ ใช้ค่านี้ในการทำงานต่อเมื่อได้เข้าครองซีพียูใหม่ สถานะของโปรเซสที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เวลาเริ่มทำงานของโปรเซส เวลาของซีพียูที่ใช้ไปแล้ว

ข้อมูลเพื่อการจัดการหน่วยความจำ พอยน์เตอร์ชี้ไปยังตำแหน่งของโปรเซสในหน่วยความจำเพื่อเก็บตำแหน่งของหน่วยความจำที่ ใช้เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมของแต่ละโปรเซส เพื่อให้สามารถอ้างอิง และนำมาใช้งานได้อย่าง ถูกต้อง พอยน์เตอร์ชี้ไปยังทรัพยากรต่าง ๆ ที่โปรเซสครอบครอง หมายเลขประจำตัวของโปรเซส

ข้อมูลเพื่อการจัดการแฟ้ม ไดเร็กทอรี่ราก เป็นการเก็บที่อยู่ของโปรแกรมของโปรเซสแต่ละโปรเซส เพื่อการอ้างอิง และการนำมาใช้งาน ไดเร็กทอรี่ปัจจุบัน รายละเอียดของแฟ้ม หมายเลขประจำตัวของโปรเซส

จบบทที่ 3 ค่ะ