สมบัติที่สำคัญของคลื่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
การเคลื่อนที่.
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
อสมการ.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นผิวน้ำ.
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ซ่อมเสียง.
การหักเหของแสง (Refraction)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Electronic Circuits Design
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมบัติที่สำคัญของคลื่น การแทรกสอดของคลื่น (Interference of Waves) การสะท้อนของคลื่น (Reflection of Waves) คลื่นนิ่ง (Standing Waves) การสั่นพ้อง (Resonance)

การแทรกสอดของคลื่น (Interference of waves) การรวมกันของคลื่นตั้งแต่สองคลื่นขึ้นไปที่(อาจ)มีสมบัติต่างกัน แล้วได้คลื่นใหม่ที่มีสมบัติต่างจากคลื่นเดิม คลื่นสองคลื่นมี , A, v เท่ากัน แต่เฟสต่างกัน y y1+y2 y2 x y1

t

Interference of Waves การแทรกสอดของคลื่น 2 ขบวนที่มีแอมปลิจูดเท่ากัน amplitude

Interference of Waves y = 2ym y = 0 0 < y < 2ym

คลื่นสองคลื่นที่มีความถี่ ต่างกันมาก Interference of Waves y x y1+y2 y2 y1 คลื่นสองคลื่นที่มีความถี่ ต่างกันมาก คลื่นสองคลื่นที่มีความถี่ ต่างกันน้อย

การรวมกันของคลื่นในลักษณะต่างๆ Interference of Waves การรวมกันของคลื่นในลักษณะต่างๆ

พิจารณาคลื่นสองขบวนทำให้แต่ละตำแหน่งของเชือกมีการสั่นตามสมการ Interference of Waves การรวมกันของ SHM อิสระในแนวเดียวกันซึ่งมีแอมปลิจูดและเฟสไม่เท่ากัน พิจารณาคลื่นสองขบวนทำให้แต่ละตำแหน่งของเชือกมีการสั่นตามสมการ โดยที่ x1 = มีมุมเฟสเริ่มต้นเป็นศูนย์ และ คือ มุมเฟสของ x2 การกระจัดลัพธ์ที่เกิดจากการแทรกสอดของคลื่น คือ

ผลต่างของเฟส ของ x1 และ x2 แทนด้วย ' Interference of Waves ผลรวมที่เกิดขึ้นจะได้ SHM เหมือนเดิม แต่แอมปลิจูดและเฟสเริ่มต้นจะเปลี่ยนไป โดยสมมุติให้เป็น ผลต่างของเฟส ของ x1 และ x2 แทนด้วย ' โดยที่

ดังนั้นแอมปลิจูดรวมกำลังสอง คือ Interference of Waves หรือ (1) ซึ่งจะได้ (2) ดังนั้นแอมปลิจูดรวมกำลังสอง คือ

หรือเมื่อนำ (2)/(1) จะได้ Interference of Waves และจะพบว่าจาก (2) หรือเมื่อนำ (2)/(1) จะได้ หมายเหตุ ในกรณีที่ x1 มีเฟสเริ่มต้นด้วย ในการหา  นั้น A2 ต้องเป็นแอมปลิจูดของ SHM ที่ มีเฟสมากกว่าเสมอ

การสะท้อนของคลื่น (Reflection of waves) Standing Waves การสะท้อนของคลื่น (Reflection of waves) m2 m1 เปลี่ยนเฟส 180 องศา m1 < m2 ไม่เปลี่ยนเฟส

Standing Waves คลื่นนิ่ง, คลื่นยืน (Standing waves) เกิดจากคลื่นตกกระทบ (incident waves) รวมกับคลื่นสะท้อน (reflected waves) ที่วิ่งในทิศตรงข้าม คลื่นสองขบวนที่มี f, v, A เท่ากันเคลื่อนที่ในทิศตรงกันข้าม

Standing Waves ลักษณะเฉพาะตัวของคลื่นนิ่ง คือ แอมปลิจูดของอนุภาคที่สั่นตรง ตำแหน่ง x ต่างๆจะไม่เท่ากัน แต่ทุกอนุภาคเคลื่อนที่ด้วยความถี่เท่ากัน จากสมการของคลื่นนิ่ง แอมปลิจูด 2ymsin(kx) จะมีแอมปลิจูดสูงสุดที่ตำแหน่ง (sin(kx)=1) ตำแหน่งดังกล่าวจะเรียกว่า antinodes (ปฏิบัพ) ระยะห่างระหว่าง antinodes ที่อยู่ติดกันคือ /2

Standing Waves แอมปลิจูด 2ymsin(kx) จะมีแอมปลิจูดต่ำสุด (= 0) ที่ตำแหน่ง ตำแหน่งดังกล่าวจะเรียกว่า nodes (บัพ) ระยะห่างระหว่าง nodes ที่อยู่ติดกันคือ /2

Standing Waves รูปแบบของคลื่นนิ่ง antinode node l/2

Standing Waves พลังงานในคลื่นนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน U  K

Standing Waves รูปแบบของคลื่นนิ่งในเส้นเชือกที่มีปลายตรึงทั้งสองข้าง

Standing Waves รูปแบบของคลื่นนิ่งในเส้นเชือกที่มีปลายตรึงหนึ่งข้าง

Standing Waves การสั่นพ้อง (Resonance) เมื่อวัตถุถูกกระทำด้วยแรงหรือสัญญาณที่มีความถี่เท่ากับหรือใกล้ เคียงกับความถี่ธรรมชาติ (resonant หรือ natural frequencies) ของวัตถุ วัตถุนั้นจะสั่นด้วยความถี่นั้นและด้วยแอมปลิจูดที่ใหญ่ ความถี่ธรรมชาติ คือ ความถี่ที่ทำให้เกิดโหมดการสั่นในคลื่นนิ่ง สำหรับคลื่นที่มีปลายตรึง 2 ปลาย (เมื่อ l คือ ความยาวระหว่างปลาย) n หรือ n' = 1 จะเรียกว่า ความถี่หลักมูล (fundamental frequency) หรือ ฮาร์โมนิคที่ 1 สำหรับคลื่นที่มีปลายตรึง 1 ปลาย

Standing Waves การสั่นพ้อง (Resonance) เมื่อวัตถุถูกกระทำด้วยแรงหรือสัญญาณที่มีความถี่เท่ากับหรือใกล้ เคียงกับความถี่ธรรมชาติ (resonant หรือ natural frequencies) ของวัตถุ วัตถุนั้นจะสั่นด้วยความถี่นั้นและด้วยแอมปลิจูดที่ใหญ่ L n = 1, 2, 3,… และ n = 1, 2, 3,…

ตัวอย่าง 3 คลื่นยืนคลื่นหนึ่งเป็นผลมาจาการซ้อนทับของคลื่น 2 ขบวน ที่มีฟังก์ชันคลื่น คือ และ ซึ่งมีระยะทางเป็นเซนติเมตร และเวลาเป็นวินาทีจงหา ค่าการกระจัดสูงสุด (ymax) ของการเคลื่อนที่ ณ ตำแหน่ง x = 1.8 cm ตำแหน่งปฏิบัพการกระจัด ตำแหน่งบัพการกระจัด ค่าการกระจัดสูงสุด (ymax) ของการเคลื่อนที่ ณ ตำแหน่ง x = 1.8 cm จะได้

ข. ตำแหน่งปฏิบัพการกระจัด ค. ตำแหน่งบัพการกระจัด

ตัวอย่าง 5 ในการทดลองเกี่ยวกับคลื่นยืนในเส้นเชือกเส้นหนึ่ง ซึ่งยาว 2 m และมีความหนาแน่นมวลเชิงเส้น 10-4 kg/m โดยผูกเชือกเส้นนี้กับตัวสั่นตัวหนึ่ง ซึ่งสั่นขวางกับเส้นเชือกนั้น ถ้าขณะที่เส้นเชือกมีความตึง 1 N คลืนยืนมีลักษณะเป็น 4 loop ขณะนั้นเส้นเชือกสั่นมีความถี่เท่าใด และคลื่นในเชือกเส้นดังกล่าวมีอัตราเร็วเท่าใด 2 m