การใช้ไขมันในอาหารโคนม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
Advertisements

สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน น้ำมันพืชและไขมันสัตว์
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ผลพลอยได้จากเมล็ดพืชน้ำมัน
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
โดย ศ.ชโลบล อยู่สุข “ชมรมอยู่ดีมีสุข” วันที่ 1 ตุลาคม 2551
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
Protein.
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
93343 หลักโภชนศาสตร์ และอาหารสัตว์
Chemical Properties of Grain
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การวิเคราะห์อาหารสัตว์
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
ผลของการเสริมวิตามิน บี 12 ต่อองค์ประกอบของไข่
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
อาหารหลัก 5 หมู่.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
ไขมันอิ่มตัว....ไม่อิ่มตัว
whey เวย์ : casein เคซีน
ฮอร์โมนในน้ำนมแม่ Insulin growth factorช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกายเด็ก Thyroxine , thyrotropin-releasing hormone - Thyroxineช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของลำไส้เด็กให้สมบูรณ์
ทำไมต้องนมแม่ วาสนา งามการ.
การใช้มันสำปะหลังเป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารสุกร
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
อิทธิพลของระดับโปรตีน คาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่เยื่อใย และสัดส่วน MP/NELในอาหารสูตรรวมที่มีการใช้เปลือก-ซังข้าวโพดหมัก เป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก ต่อการให้ผลผลิตในโคนม.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ไลโปโปรตีน ในเลือด แบ่งออกเป็น 5 ชนิดดังนี้
การประมาณกราฟการให้นมเนื่องจากอิทธิพลทางพันธุกรรม
การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั่วโมงที่ 34–35 ไขมันและน้ำมัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้ไขมันในอาหารโคนม ผศ.ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดาและวัชรวิทย์ มีหนองใหญ่ ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ. ขอนแก่น 40002 อาหารไขมันที่ใช้ในอาหารสัตว์มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความเข้มข้นของพลังงาน เพิ่มการดูดซึมโภชนะที่ละลายในไขมัน ลดความเป็นฝุ่น ซึ่งสามารถเสริมในรูปเมล็ดพืชน้ำมัน น้ำมันพืช-สัตว์ และไขมันเม็ด ไขมันที่พบทั่วไปจะเป็นชนิดมีสายคาร์บอนยาว (Long-chain fatty acids) เช่น Triglyceride , Phospholipids nonesterified fatty acids และเกลือของ Long-chain fatty acids ซึ่งในเมล็ดพืชน้ำมันและน้ำมันพืชจะอยู่ในรูปกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว(unsaturated fatty acids) เป็นส่วนใหญ่ ตรงข้ามกับน้ำมันวัว (saturated fatty acids) การเสริมไขมันในอาหารโคนม ในอาหารโคนม(TMR)ทั่วไปจะมีไขมัน 2-3% ซึ่งโคที่อยู่ในภาวะความเครียด โคช่วงแรกการให้น้ำนม โคให้ผลผลิตสูง จะกินได้น้อยกว่าความต้องการ จึงต้องมีการชดเชยพลังงานให้สูงขึ้น ซึ่งสามารถเสริมได้อีก 3-4 %ไขมัน (Jenkin, 1997) การเสริมจะช่วยเพิ่มปริมาณน้ำนมมากขึ้น4.5 %ในโคช่วงแรกการให้น้ำนม, เพิ่ม 3.6%ในระยะสูงสุดของการให้นม และเพิ่ม 3.4%ในระยะกลาง-ปลายการให้นม (Chilliard,1993) การเกิด Hydrogenation ของไขมัน R-CH=CH-(CH2)4-COOH + H2 ----> R-(CH2)6-COOH กระบวนการเมทาบอลิซึมของไขมัน เมื่อโคกินอาหารที่มีไขมันเข้าไปจุลินทรีย์ในกระเพาะหมักจะเปลี่ยนแปลงไขมันให้อยู่ในสภาพอิ่มตัว(hydrogenation of saturated fatty acid )ในกระเพาะรูเมน ซึ่งไขมันชนิดอิ่มตัวจะมีความเป็นพิษหรือจำกัดการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์น้อยกว่าชนิดไม่อิ่มตัว การย่อยได้ของไขมันในเมล็ดธัญพืชจะต่ำกว่าการเสริมในรูปน้ำมันพืช-สัตว์ และการย่อยได้จะต่ำลงในวัตถุดิบไขมันที่มีค่าiodine value มากกว่า40 (Jenkins, 1993 ) ผลการเสริมไขมัน มีแนวโน้มเพิ่มไขมันในน้ำนม แต่ลดระดับโปรตีนน้ำนมลง ดังนั้นจึงควรเพิ่มระดับโปรตีนในสูตรอาหารหรือใช่ร่วมกับ by pass protein (Wu and Huber, 1994) การใช้ไขมันในระดับสูงจะลดการดูดซึมของแคลเซียมและแม็กนีเซียม จึงควรเพิ่มระดับชดเชย การเสริมไขมันช่วยเพิ่มอัตราการผสมติดและตั้งท้อง เพราะเพิ่มปริมาณไข่อ่อนที่สมบูรณ์และขนาดไข่อ่อน ช่วยลดระดับ insulin และเพิ่มระดับ progesterone เพื่อพยุงการตั้งท้อง (Staple et al, 1998) การกิน แร่ธาตุ โปรตีน คาร์โบไฮเดรท จุลินทรีย์ พลังงานโปรตีน ดูดซึม น้ำนม กระเพาะหมัก ไขมันเม็ด ลำไส้เล็ก การเปลี่ยนไขมันเหลวเป็นไขมันเม็ด (Saponification) R-COOH + NaOH ---------------> R-COO- + Na+ + H2O สรุป ระดับการเสริมอาหารไขมันขึ้นกับปัจจัยชนิดไขมัน ระยะและปริมาณการให้ผลผลิต วัตถุดิบอาหาร อายุโค สิ่งแวดล้อมและรูปแบบการจัดการฟาร์ม ระดับการใช้ไขมันในอาหารสูตรรวม(TMR)ไม่ควรเกิน 6-7% ในโคช่วงแรกการให้น้ำนมควรเสริมไขมันในระดับที่ต่ำกว่า 6% การใช้ในรูปไขมันเม็ด เมล็ดพืชน้ำมันหรือใช้ร่วมกับน้ำมันจะช่วยแก้ไขปัญหาเรื่องการกินที่ลดลง ทำให้โคได้รับพลังงานและเยื่อใยเพียงพอ การใช้ไขมันเม็ด ไขมันเม็ดหรือ bypass fat มีคุณสมบัติไหลผ่านไปย่อยที่ลำไส้เล็ก และไม่รบกวนการเจริญของจุลินทรีย์ มีไขมัน 82 %, แคลเซียม 9%, ความชื้น 3%, NEL 6.5 Mcal/kg. การเสริมในรูปไขมันเม็ด ( 2.3% ไขมัน)เทียบกับในรูปน้ำมัน(วัวหรือพืช)จะเพิ่มปริมาณน้ำนมได้ 1.1 เทียบกับ 0.1 กก.น้ำนม/วัน (Grummer, 1994) การใช้เมล็ดพืชน้ำมันสามารถใช้ทดแทนไขมันเม็ด แต่จะตอบสนองลดลงเมื่อใช้เทียบเท่าการเสริมไขมัน 2% การใช้ไขมันเม็ดในระดับสูงทำให้การกินได้ลดลง วิธีใช้แบบโรยบนอาหารโคจะไม่ชอบกิน เพราะรสชาติต่ำ แต่การผสมในอาหารข้น ผสมกับเมล็ดธัญพืช จะทำให้กินได้ดีขึ้น (Grummer et al., 1990) เอกสารอ้างอิง Chilliard, Y. 1993. Dietary fat and adipose tissue metabolism in ruminants, pig, and rodent: a review. J. Dairy Sci. 76:3897-3931. Grummer, R.R. 1994. Fat sources and levels for high milk production Pp. 130-139 in Proc.Southwest Nutrition and Management Conference. Uni. of Arizona, Tucson, AZ. Grummer, R.R., M.L. Hatfield, and M.R. Dentin.1990. Acceptability of fat supplements in four dairy herds. J. Dairy Sci. 73:852-857. Jenkins, T.C. 1993. Lipid metabolism in the rumen. J. Dairy Sci. 76: 3851-3863. Jenkins, T.C. 1997. Success of fat in dairy rations depends on the amount. Feedstuffs.69(2): 11-12. Staple, C.R., J.M. Burke, and W.W. Thatcher.1998. Influence of supplemental fats on reproductive tissue and performance of lactating cows. J. Dairy Sci. 81: 856-871. Wu,Z., and J.T. Huber. 1994. Relationship between dietary fat supplementation and milk protein concentration in lactating cows. A review. Livest. Prod. Sci. 39: 141-155.