การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
การบริหารร่างกายทั่วไป
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Homework 2D Equilibrium of Particle
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
Electric force and Electric field
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
ระบบอนุภาค.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
ความหมายและชนิดของคลื่น
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
การแปรผันตรง (Direct variation)
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
ข้อเสื่อม เรื่องของใคร
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
กิจกรรมชุดที่ 11 สมดุลของคาน.
กิจกรรมชุดที่ 10 รู้จักแรงเสียดทาน.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
การรวมแรงที่กระทำต่อวัตถุ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ข้อสอบ O-Net

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 1. (O-NET’49)นอตขนาดเล็กผูกด้วยสายเอ็นแขวนไว้ให้สายยาว L ซึ่งสามารถเปลี่ยนให้มีค่าต่าง ๆ ได้ คาบของการแกว่ง T ของนอตจะขึ้นกับความยาว L อย่างไร 1. T2 เป็นปฏิภาคโดยตรงกับ L 2. T เป็นปฏิภาคโดยตรงกับL 3. T2 เป็นปฏิภาคโดยตรงกับ L2 4. เป็นปฏิภาคโดยตรงกับ L

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 2. (O-NET’49)รถไตถังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอและวิ่งครบรอบได้ 5 รอบในเวลา 2 วินาที หากคิดในแง่ความถี่ของการเคลื่อนที่ ความถี่จะเป็นเท่าใด 1. 2.5 Hz 2. 1.5 Hz 3. 0.5 Hz 4. 0.4 Hz

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 3. (O-NET’49)โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็วต้น 4.9 เมตร/วินาที นานเท่าใดลูกบอลจึงจะเคลื่อนที่ไปถึงจุดสูงสุด (g=9.8 m/s2) 1. 0.5 s 2. 1.0 s 3. 1.5 s 4. 2.0 s

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 4. (O-NET’49)การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปถึงตำแหน่งสูงสุด อัตราเร็วของวัตถุจะเป็นอย่างไร 1. มีค่าเป็นศูนย์ 2. มีอัตราเร็วแนวราบเป็นศูนย์ 3. มีค่าเท่ากับอัตราเร็วแนวราบเมื่อเริ่มเคลื่อนที่ 4. มีค่าเท่ากับอัตราเร็วเมื่อเริ่มเคลื่อนที่

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 5. (O-NET’49)ถ้าการแกว่งของนอตแบบอาร์มอนิกอย่างง่ายจากตำแหน่ง A ไป B ใช้เวลา 0.5 วินาที คาบการแกว่งจะมีค่ากี่วินาที (แบบเติมคำตอบ) ตอบ................................................................................

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 6. (O-NET’50)ยิงวัตถุจากหน้าผาออกไปในแนวระดับ ปริมาณใดของวัตถุมีค่าคงตัว 1. อัตราเร็ว 2. ความเร็ว 3. ความเร็วในแนวดิ่ง 4. ความเร็วในแนวระดับ

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 7. (O-NET’50)เหวี่ยงจุกยางให้เคลื่อนที่เป็นแนววงกลมในระนาบระดับศีรษะ 20 รอบใช้เวลา 5 วินาที จุกยางเคลื่อนที่ด้วยความถี่เท่าใด           1.  0.25 รอบ/วินาที       2.  4 รอบ/วินาที       3.  5 รอบ/วินาที       4.  10 รอบ/วินาที

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ 8. (O-NET’50)การเคลี่อนที่ใดที่แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีทิศตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ตลอดเวลา           1. การเคลื่อนที่ในแนวตรง       2. การเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงตัว       3. การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์       4. การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

9. (O-NET’51) ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้ทำให้การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นการตกแบบเสรี กำหนดให้ การเคลื่อนที่ทุกข้อ ไม่คิดแรงต้านอากาศ 1. โยนก้อนหินขึ้นไปในแนวดิ่ง 2. ปล่อยลูกกอล์ฟจากยอดตึกให้ตกลงมาในแนวดิ่ง 3. ยิงลูกปืนจากยอดหน้าผาออกไปในแนวระดับ 4. ผูกถุงทรายเข้ากับสปริงในแนวดิ่งซึ่งตึงไว้กับเพดาน ดันถุงทราบขึ้นแล้วปล่อย

10. (O-NET’51) การเคลื่อนที่ของข้อใดต่อไปนี้ที่ความเร่งของวัตถุเป็นศูนย์ 1. การเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงตัว 2. การตกลงตรง ๆ ในแนวดิ่งโดยไม่มีแรงต้านอากาศ 3. การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงในแนวระดับด้วยอัตราเร็วคงตัว 4. การไถลลงเป็นเส้นตรงบนพื้นเอียงลื่นที่ไม่มีแรงเสียดทาน

11. (O-NET’51) ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้ทำให้วัตถุมีการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย 1. แขวนลูกตุ้มด้วยเชือกในแนวดิ่ง ผลักลูกตุ้มให้แกว่งเป็นวงกลม โดยเส้นเชือกทำมุมคงตัวกับแนวดิ่ง 2. แขวนลูกตุ้มด้วยเชือกในแนวดิ่งดึงลูกตุ้มออกมาจนเชือกทำมุมกับแนวดิ่งเล็กน้อยแล้วปล่อยมือ 3. ผูกวัตถุกับปลายสปริงในแนวระดับ ตรึงอีกด้านของปลายสปริงไว้ ดึงวัตถุให้สปริงยืดออกเล็กน้อย แล้วปล่อยมือ 4. ผูกวัตถุกับปลายสปริงในแนวดิ่ง ตรึงอีกด้านของปลายสปริงไว้ ดึงวัตถุให้สปริงยืดออกเล็กน้อย แล้วปล่อยมือ

12. (O-NET’51) ผูกวัตถุด้วยเชือกแล้วเหวี่ยงให้เคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวระนาบดิ่ง ขณะที่วัตถุเคลื่อนที่มาถึงตำแหน่งสูงสุดของวงกลม ดังแสดงในรูป แรงชนิดใดในข้อต่อไปนี้ที่ทำน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง 1. แรงดึงเชือก 2. น้ำหนักของวัตถุ 3. แรงดึงเชือกบวกกับน้ำหนักของวัตถุ 4. ที่ตำแหน่งนั้น แรงสู่ศูนย์กลางเป็นศูนย์

13. (O-NET’52) การเตะลูกบอลอกไป ทำให้ลูกบอลเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ดังรูป และกำหนดให้ทิศขึ้นเป็นบวก กราฟในข้อใดต่อไปนี้บรรยายความเร่งในแนวดิ่งของลูกบอลได้ถูกต้อง ถ้าไม่คิดแรงต้านอากาศ  

14. (O-NET’52)

15. (O-NET’52)

16. (O-NET’52)

สวัสดี