ความรู้พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล บทที่ 1 บทนำ ความรู้พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
1. การสื่อสารข้อมูล (Data Communication) ความถูกต้องในการส่ง (Delivery) ความถูกต้องของข้อมูล (Accuracy) เวลาที่เหมาะสม (Timeliness)
องค์ประกอบของการสื่อสาร ข้อมูลข่าวสาร (Message) ผู้ส่ง (Sender) ผู้รับ (Receiver) สื่อที่ใช้ในการส่ง (Medium) โพรโตคอล (Protocol) รูปที่ 1 องค์ประกอบของการสื่อสาร
ทิศทางการสื่อสาร สามารถสื่อสารได้ 3 วิธี การสื่อสารแบบซิมเพล็กซ์ (Simplex) หรือการสื่อสารแบบทาง เดียว รูปที่ 2 Simplex
การสื่อสารแบบฮาล์ฟดูเพล็กซ์ (Half-Duplex) หรือการสื่อสาร แบบทางใดทางหนึ่ง
การสื่อสารแบบฟูลดูเพล็กซ์ (Full-Duplex) หรือการสื่อสารแบบ สองทิศทาง
2. เครือข่าย (Network) กลุ่มของอุปกรณ์ที่ใช้สื่อสาร ที่ทำการเชื่อมโยงกันโดยใช้สื่อใน การรับส่งข้อมูล และในการเชื่อมโยงอุปกรณ์กันเป็นเครือข่ายนั้น สามารถทำได้ 2 แบบ คือ Point-to-Point Multipoint
รูปที่ 5 Point-to-Point
รูปที่ 5 Multipoint
3. รูปแบบของการเชื่อมโยงเครือข่าย (Topology) รูปที่ 6 Consist of Topology
รูปที่ 7 Mesh Topology
ข้อดี 1. เนื่องจากไม่ต้องการมีการใช้สื่อร่วมกัน ดังนั้น จึงเป็นการช่วยลดปัญหาของ การจราจร (Traffic) ภายในเครือข่ายได้ 2. ถ้าสื่อหรือสายเส้นใดเส้นหนึ่งเสียหาย จะไม่ส่งผลกระทบกับการทำงานของ ทั้งระบบ 3. มีความปลอดภัยมาก เนื่องจากเป็นการเชื่อมโยงแบบจุดต่อจุด ดังนั้นข้อมูลที่ ส่งออกไปจะมีเพียงโหนดที่ต้องการส่งข้อมูลให้เท่านั้นที่จะได้รับข้อมูล 4. สามารถตรวจสอบความบกพร่องของระบบได้ง่าย ข้อเสีย 1. สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในส่วนของสื่อที่ใช้ในการเชื่อมต่อ และจำนวนของอินพุต/ เอาท์พุตพอร์ตที่จะต้องมีมากเท่ากับจำนวนโหนดที่ต้องการเชื่อมต่อด้วย 2. มีข้อจำกัดในเรื่องการนำไปเชื่อมโยงกับโทโปโลยีแบบอื่นๆ
รูปที่ 8 StarTopology
ข้อดี 1. ใช้สื่อและพอร์ตในการเชื่อมกันระหว่างโหนดน้อยกว่าแบบ Mesh 2
รูปที่ 9 Bus Topology
ข้อดี 1. สิ้นเปลืองสายน้อยกว่าแบบ Mesh และ Star 2
รูปที่ 9 Ring Topology
ข้อดี 1. ในการเพิ่มหรือลดโหนดจะง่ายเนื่องจากจะมีการกระทำกับโหนดใกล้เคียง กันเพียง 2 โหนดเท่านั้น 2. ตรวจสอบความผิดพลาดของระบบได้ง่าย เพราะถ้าโหนดใดไม่ได้รับ สัญญาณแล้ว ความผิดพลาดก็น่าจะเกิดมาโหนดก่อนหน้านี้ ข้อเสีย เมื่อมีโหนดใดโหนดหนึ่งเสียหาย เป็นไปได้ว่าทั้งระบบอาจจะใช้งาน ไม่ได้ (แก้ได้โดยการทำเป็น dual ring)
4. ประเภทของเครือข่าย รูปที่ 10 Network
Local Area Network : LAN รูปที่ 11.1 Single-building LAN
รูปที่ 11.2 Multiple-building LAN
Metropolitan-Area Network: MAN
Wide Area Network: WAN รูปที่ 13 WAN
5. Internet History an Internet 1960 : Advance Research Project Agency: ARPA 1967 : ARPANET (IMP) 1969 : Network Control Protocol (NCP) 1972 – Present : Transmission Control Protocol (TCP) and Internetworking Protocol (IP) รูปที่ 14 Internet today
6. Protocols and Standards Standards Organizations Internet Standards
Protocol Syntax หมายถึงรูปแบบ (format) หรือโครงสร้าง (structure) ของ ข้อมูล Semantics หมายถึง ความหมายของข้อมูลที่ได้รับมา Timing เป็นข้อกำหนดของเวลาในการรับส่งข้อมูล เนื่องจาก ความเร็วในการรับส่งที่ไม่เท่ากัน Standards De facto มาตรฐานที่เกิดขึ้นจากการยอมรับของคนทั่วไป De jure มาตรฐานที่ได้ผ่านการรับรองอย่างถูกกฎหมาย
Standards Organizations International Organization for Standardization ( ISO ) International Telecommunication Union – Telecommunication Standards Section ( ITU-T ) American National Standards Institute(ANSI) Institute of Electrical and Electronics Engineers ( IEEE ) Electronics Industries Association ( EIA )