โรครากเน่าโคนเน่าส้ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
การดูแลสวน (Garden Maintenance)
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
ขั้นตอนวิธีการ การเก็บตัวอย่างดิน 1) เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกพืช ให้กระจายทั่วแปลงประมาณ 10–30 จุดต่อแปลง เก็บตัวอย่างดินระดับความลึกเท่ากับระดับไถพรวน.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การปลูกพืชกลับหัว.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิเชียร อารยะสมสกุล
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหาร จัดการศูนย์บริการฯ หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม ส่งเสริมการผลิตสินค้า ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ส่งเสริมการผลิตสินค้า.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองราชบุรี
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
************************************************
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
ขั้นตอนการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า ในข้าวสุก
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
ข้อควรระวัง ! ในการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
การเพาะเห็ดนางฟ้า วัสดุอุปกรณ์ในการเพาะเห็ดนางฟ้า สูตรที่1
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรครากเน่าโคนเน่าส้ม

โรครากเน่าโคนเน่าของมะเขือเทศ

โรคเหี่ยวของโหระพา

วิธีการนำไปใช้

1. คลุกกับเมล็ด เชื้อราไตรโคเดอร์มา : เมล็ดพันธุ์ 20-30 กรัม : 1 ก.ก.

2. หว่านลงดิน เชื้อราไตรโคเดอร์มา : รำละเอียด : ปุ๋ยหมัก 1 ก.ก. 5 ก.ก. 50 ก.ก.

พืชผัก ผักกินใบ ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาที่ผสมแล้ว 130-150 กก./ไร่ ผักกินผล ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาที่ผสมแล้ว 30 กรัม/ หลุม

โรยโคนต้น 30 กรัม/ต้น

ไม้ผล รองก้นหลุม 500 กรัม/ หลุม อายุ 5 ปี ลงมาใช้ 2-3 ก.ก./ ต้น รองก้นหลุม 500 กรัม/ หลุม อายุ 5 ปี ลงมาใช้ 2-3 ก.ก./ ต้น อายุ 5 ปี ขึ้นไป ใช้ 3-5 ก.ก./ ต้น

ระยะเวลาคุ้มกันเชื้อรา สาเหตุโรคพืช 4 1/2 - 6 เดือน ระยะเวลาคุ้มกันเชื้อรา สาเหตุโรคพืช 4 1/2 - 6 เดือน

เชื้อสด 1 กิโลกรัม / น้ำ 200 ลิตร 3. ฉีดลงดิน เติมน้ำแล้วกวนเพื่อล้างสปอร์

กรองเอาแต่น้ำสปอร์

เติมน้ำที่ล้างสปอร์(เชื้อรา 1 กิโลกรัม )/ น้ำ 200 ลิตร

ข้อควรระวัง 1. หลังจากหว่านเชื้อราไตรโคเดอร์มาแล้ว ควรมีวัสดุคลุมดิน 1. หลังจากหว่านเชื้อราไตรโคเดอร์มาแล้ว ควรมีวัสดุคลุมดิน 2. ไม่ ควรหว่านเชื้อราไตรโคเดอร์มาพร้อมกับการใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดเชื้อราหรือปุ๋ยเคมีในเวลาเดียวกัน 3. หลังจากหว่านเชื้อราไตรโคเดอร์มาประมาณ 9-10 วัน ควรให้มีความชื้นในดินอยู่ตลอด 4. ไม่ควรผลิต/ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาใกล้บริเวณที่เพาะเห็ด

ให้ได้ผลดีต้องควบคู่กับการปรับปรุง บำรุงดิน โดยการใช้ปุ๋ยคอก การใช้เชื้อรา ไตรโคเดอร์มา ให้ได้ผลดีต้องควบคู่กับการปรับปรุง บำรุงดิน โดยการใช้ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก

เชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด การผลิตขยาย เชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด

อุปกรณ์การผลิตเชื้อสด หม้อหุงข้าวไฟฟ้า หัวเชื้อราไตรโคเดอร์มา ข้าวสาร ยางวง เข็ม น้ำ ถุงพลาสติกทนร้อนขนาด 8x12 นิ้ว

ข้าวสาร (3 ส่วน)+ น้ำสะอาด (2 ส่วน) *ถ้าข้าวนิ่มเกินไปให้ใช้ ข้าวสาร (2 ส่วน) + น้ำสะอาด (1 ส่วน) ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดสุพรรณบุรี สาขากาญจนบุรี

ข้าวสุกเป็นไตขาว

ตักข้าวขณะร้อนใส่ถุง

ตักข้าวขณะร้อนใส่ถุง 250 กรัม/ถุง ข้าวสุก 1 กก. ใส่ได้ 4ถุง

พับปากถุงลงด้านล่าง ปล่อยให้ข้าวอุ่น (เกือบเย็น)

เหยาะหัวเชื้อ

รัดยางตรงปลายปากถุงให้แน่น

เขย่าหรือบีบข้าวเบาๆเพื่อให้หัวเชื้อกระจายทั่วทั้งถุง

รวบถุงให้พองบริเวณปากถุง ใช้เข็มแทง 20-30 ครั้ง/ถุง

วางถุงข้าวสุกในลักษณะแบนราบ ไม่ซ้อนทับกัน (ในที่มีแสงสว่าง ปลอดจากมด ไร และสัตว์อื่นๆ)

หลังบ่มเชื้อ 3 วัน

คลุกเคล้าข้าวสุกกับเชื้อในถุงอีกครั้ง

หลังบ่มเชื้อ 7 วัน