การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
“เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” ร.๙
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ประเภทโครงการ เกี่ยวกับป่า เกี่ยวกับน้ำ เกี่ยวกับดิน ด้านวิศวกรรม และอื่นๆ รวมประมาณ ๔,๐๐๐ กว่าโครงการในระยะเวลา ๖๐ ปี เฉลี่ย ๕ วัน ต่อ ๑ โครงการ
พระราชกรณียกิจ ของ ร.๙
พระราชกรณียกิจ ของ ร.๙
“ข้าพเจ้ามีความเต็มใจที่จะสละอำนาจ อันเป็นของข้าพเจ้าอยู่เดิมให้แก่ราษฎรทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอำนาจทั้งหลาย ของข้าพเจ้าให้แก่ผู้ใด คณะใดโดยเฉพาะเพื่อใช้อำนาจโดย สิทธิขาดและโดยไม่ฟังเสียงอันแท้จริงของประชาชนราษฎร” ร.๗
ประวัติการปกครองระบอบประชาธิปไตย คณะราษฎร์ ๑. สาเหตุการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปัญญาชนรุ่นใหม่ต้องการมีส่วนร่วมในการปกครอง ประชาชนเริ่มตื่นตัวทางการเมือง ผลจากการปฏิวัติในประเทศต่าง ๆ คนรุ่นใหม่เห็นว่าทันสมัย
๒. คณะปฏิวัติ หรือคณะราษฎร์ทำการปฏิวัติ เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ โดยมีหลักการสำคัญ จะต้องรักษาเอกราช การเมือง การศาล และเศรษฐกิจให้มั่นคง จะต้องรักษาความปลอดภัยภายในประเทศ จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเท่าเทียมกัน จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสรีภาพมีความเป็นอิสระ ๓. คณะราษฎร์ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวร วันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕ มีนายกรัฐมนตรีคนแรกคือ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
๔. ผลของการเปลี่ยนแปลงการปกครองมีสาระสำคัญดังนี้ ยกเลิกการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตย มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชฐานะ และพระราชอำนาจตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญทั้งนี้พระองค์เป็นผู้ใช้อำนาจทางอ้อม ๓ ประการ คือ ๑. อำนาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา ๒. อำนาจบริหารผ่านทางคณะรัฐมนตรี ๓. อำนาจตุลาการผ่านทางศาลยุติธรรม
รูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดี กึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา ๑. ๒. ๓. ประเทศไทย มีการปกครองระบบประชาธิปไตย และมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ด้วยเหตุผลคือ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นที่มาแห่งเกียรติศักดิ์ ทรงรับตำแหน่งจากการสืบราชสันติวงศ์ ทรงเป็นประมุขของประเทศอย่างถาวร เป็นศูนย์รวมแห่งความเป็นชาติ และความสามัคคี ๑. ๒. ๓. ๔.