การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
Formulation of herbicides Surfactants
การจัดการหนอนใยผักแบบบูรณาการ
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
การดูแลสวน (Garden Maintenance)
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
การป้องกันตนเองของผู้ปฏิบัติงานพ่นเคมี
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การปลูกพืชกลับหัว.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตคะน้าแบบไว้ตอ
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
เขียดเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
ข้อควรระวัง ! ในการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
การเจริญเติบโตของพืช
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
Welcome to .. Predator’s Section
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การควบคุมเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง สถานการณ์การระบาดของเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง ปลูกพืชเชิงเดี่ยว ระยะเวลา ระบาดมากในหน้าแล้งหรือฝนทิ้งช่วงเวลานาน -ระบาดรุนแรงอายุ 1-4 เดือน มีผลกระทบ มากกว่า 4-8 เดือน และ8-12 เดือน ผลผลิต ลดลงถึง 80 %

ชีพจักรของเพลี้ยแป้ง - สามารถขยายพันธุ์โดยไม่ต้องผสมพันธุ์ - สามารถออกลูกเป็นตัวและเป็นไข่ - วางไข่ครั้งละ 50-600 ฟอง - ระยะไข่ 7 วัน - ลอกคราบ 3-4 ครั้ง - ตัวเต็มวัยอายุ 10 วัน - ตัวอ่อนอายุ 18-59 วัน - เฉลี่ยอายุ 35-92 วัน

ลักษณะการทำลาย - ใช้ปากที่เป็นท่อยาวดูดกินน้ำเลี้ยงจาก ยอด ใบ ตา และลำต้น - ปล่อยฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต ทำให้เกิดข้อถี่ แตกใบเป็นพุ่มหนาเป็นกระจุก - ท่อนพันธ์ที่ถูกทำลาย จะแห้งเร็ว อายุการเก็บเกี่ยวจะสั้น

- ลำตัวคล้ายลิ่ม มีไขปกคลุมลำตัว มีแถบดำบนลำตัว 2 แถบ ชนิดเพลี้ยแป้ง เพลี้ยแป้งตัวลาย - ลำตัวคล้ายลิ่ม มีไขปกคลุมลำตัว มีแถบดำบนลำตัว 2 แถบ - ปลายท้องมีหางคล้ายแป้ง 2 เส้นยาวครึ่งหนึ่งของลำตัว ออกลูกเป็นไข่

เพลี้ยแป้งสีเขียว ลำตัวรูปไข่ ผนังลำตัวสีเขียวอมเหลืองมีไขแป้งสีขาวปกคลุมด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้น เส้นแป้งที่ปลายท้องยาวกว่าเส้นแป้งที่ลำตัว ออกลูกเป็นตัว

เพลี้ยแป้งสีชมพู ลำตัวรูปไข่ ผนังลำตัวสีชมพู มีเส้นแป้งสั้น หรือไม่ปรากฏให้เห็นเลย ออกลูกเป็นตัว

เพลี้ยแป้งแจ็คเบียดเลย์ ลำตัวค่อนข้างแบน สีเทาอมชมพูมีไขแป้งปกคลุมด้านข้างลำตัวมีไขแป้งปกคลุมจำนวนมากเส้นแป้งที่ปลายท้องยาวกว่าด้านข้างลำตัว ออกลูกเป็นตัว

ลักษณะมันสำปะหลังที่ถูกทำลาย มีข้อถี่มาก แตกใบเป็นพุ่มหนาและหงิก

การกำจัดเพลี้ยแป้งโดยวิธีผสมผสาน 1. การจัดการด้านเขตกรรม -เลือกพื้นที่ปลูก - เลือกฤดูปลูก - เลือกพันธุ์ - การเตรียมดิน - การเตรียมท่อนพันธุ์ - การจัดการวัชพืช - การใส่ปุ๋ย

2. การจัดการที่อยู่อาศัย - การให้น้ำ - การปลูกพืชหมุนเวียน - การสร้างแนวป้องกัน 3. การควบคุมโดยชีววิธี การใช้สิ่งมีชีวิต (ศัตรูธรรมชาติ) ควบคุมสิ่งมีชีวิต(ศํตรูพืช) แบ่งเป็น - ตัวห้ำ หมายถึงศัตรูธรรมชาติที่ห้ำหั่นจับศัตรูพืชกัดกินโดยตรง จะมีรูปร่างค่อนข้างใหญ่ มีแขน ขา ที่แข็งแรง ได้แก่ แมลงช้างปีกใส ด้วงเต่าตัวห้ำ ฯลฯ

- ตัวเบียน หมายถึงศัตรูธรรมชาติที่มีขนาดเล็ก สามารถทำลายศัตรูพืช โดยเข้าไปอาศัยกินอยู ในตัว ศัตรูพืช ทำให้ศัตรูพืชตาย ได้แก่ แตนเบียนเพลี้ยแป้ง Anagyrus lopezi - เชื้อโรค เป็นเชื้อโรคที่สามารถทำลายแมลงหรือทำให้เกิดโรคกับแมลงหลายชนิด โดยเฉพาะเพลี้ยต่างๆ ได้แก่เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด สีน้ำตาล ได้แก่เชื้อราบิวเวอเรีย

แมลงช้างปีกใส สามารถกินเพลี้ยแป้งได้ 150 ตัว ภายในเวลา 10 วัน

ด้วงเต่าตัวห้ำ สามารถกินเพลี้ยแป้งได้ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ตลอดอายุไขของด้วงเต่าตัวห้ำ สามารถกินเพลี้ย ได้มากกว่า 1,000 ตัว

แตนเบียนเพลี้ยแป้ง Anagyrus lopezi ทำลายเพลี้ยแป้งได้ 2 วิธี ได้แก่ การห้ำ และการเบียน ห้ำเพลี้ยแป้งได้วันละ 20-30 ตัว สามารถเบียนได้วันละ 15-20 ตัว ตัวเต็มวัยอายุ 17-20 วัน

เชื้อราบิวเวอเรีย ลักษณะของเส้นใย และสปอร์มีสีขาวหรือสีครีมซีด สปอร์งอก (germ tube)แทงทะลุผ่านผนัง หรือช่องว่างบนลำตัว โดยอาศัยน้ำย่อยต่าง ๆ เมื่อเข้าสู่ตัวแมลงแล้วจะเพิ่มปริมาณ และสร้างเส้นใย ผลิตเอ็นไซม์ที่เป็นพิษ ทำให้เป็นอัมพาตและตาย

สารสกัดชีวภาพ หรือสารธรรมชาติ ทำมาจากสมุนไพร เช่น ตะไคร้หอม สะเดา ขมิ้น โล่ติ้น หนอนตายหยาก พริกไทย โหระพา ดาวเรือง สาบเสือ เป็นต้น

การใช้สารเคมี - แนะนำให้ใช้ครั้งแรก เพื่อกำจัดเพลี้ยแป้งที่ติด มากับท่อนพันธุ์ - และเมื่อมีการระบาดเกิดขึ้นอย่าง รุนแรงแมลงศัตรูธรรมชาติไม่สามารถ ควบคุมได้ สารเคมีที่แนะนำ ไทอะมิโทแซม ชื่อการค้า แอคคาราหรือแอมเพล(25% WG) ไดโนฟูแรน ชื่อการค้าสตาร์เกิล (10% WG) โพรไทโอฟอส ชื่อการค้าโตกุไธออน(50%EC50 )

การเตรียมท่อนพันธุ์ ท่อนพันธุ์อายุ 10-14 เดือน ตัดต้นกองทิ้งไว้ไม่เกิน 10 วัน ความยาวของท่อนพันธุ์ที่ใช้ปลูกประมาณ 20-30 ซม. แช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมี ไทอะมิโทแซม 25%WG 4 กรัม/น้ำ 20 ลิตร ไดโนฟูแรน 10% WG 40 กรัม/น้ำ 20 ลิตร แช่นาน 15-20 นาทีและนำไปผึ่งลมในที่ร่ม ให้แห้งก่อนนำไปปลูก

การเตรียมท่อนพันธุ์ ท่อนพันธุ์อายุ 10-14 เดือน ตัดต้นกองทิ้งไว้ไม่เกิน 10 วัน ความยาวของท่อนพันธุ์ที่ใช้ปลูกประมาณ 20-30 ซม. แช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมี -ไทอะมิโทแซม 25%WG 4 กรัม/น้ำ 20 ลิตร -ไดโนฟูแรน 10% WG 40 กรัม/น้ำ 20 ลิตร แช่นาน 15-20 นาทีและนำไปผึ่งลมในที่ร่ม ให้แห้งก่อนนำไปปลูก

การแช่ท่อนพันธุ์

การใช้สารเคมีกำจัดเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง - กรณีย์ระบาดไม่รุนแรง/ศัตรูธรรมชาติน้อย ให้ใช้ไทอะมิโทแซม 25%WG 2 กรัม/น้ำ 20 ลิตรและไวท์ออย 40 CC. สามารถฉีดพ่นได้ 1-2 งาน - ระบาดรุนแรง ให้ใช้ไทอะมิโทแซม 25%WG 2 กรัม/น้ำ 20 ลิตรและไวท์ออย 40 CC. ฉีดพ่น 2 ครั้งห่างกัน 10 วัน

การฉีดพ่นสารเคมีอย่างปลอดภัย ต้องใช้ชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมี หมวก หน้ากาก ชุดคลุม ถุงมือ รองเท้าบู๊ท

การฉีดพ่นสารเคมีอย่างปลอดภัย 1. ต้องใช้ชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมี เช่น ใส่เสื้อแขนยาว กางเกงขายาว สวมหน้ากาก ใส่ถุงมือ ใส่รองเท้าบู๊ท ต้องอ่านฉลากให้เข้าใจก่อนใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชทุกครั้ง 3. หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีที่มีความเข้มข้นสูง อย่าใช้ปริมาณที่เกินที่ฉลากกำหนด 4. ไม่ควรผสมสารเคมีหลายชนิดฉีดพ่นในเวลาเดียวกัน 5. ห้ามใช้มือผสมสารเคมีโดยเด็ดขาด 6. ขณะเตรียมสารเคมีต้องเตรียมน้ำสะอาดไว้ใกล้ๆตัว 7. ควรผสมสารเคมีให้พอดีกับการใช้ ไม่ควรนำสารเคมีที่ผสมแล้วเก็บไว้ใช้อีก

8. อย่าให้เด็กหรือสัตว์เลี้ยงเข้ายังที่ฉีดพ่นสารเคมี 9. อย่าสูบบุหรี่ กินอาหาร หรือดื่มน้ำระหว่างผสมหรือฉีดพ่นสารเคมี 10.ตรวจดูเครื่องมือและอุปกรณ์ฉีดพ่นสารเคมีให้อยู่ในสภาพดีไม่รั่วหรือชำรุด 11. ขณะฉีดพ่นสารเคมีผู้ฉีดต้องอยู่เหนือลมเสมอ 12.ควรฉีดพ่นสารเคมีในขณะที่ลมสงบ แดดไม่แรง และควรฉีดพ่นในเวลาเช้าตรู่หรือเย็น 13. สารเคมีที่ผสมแล้ว และเหลือจากการฉีดพ่น ควรทิ้งไว้ในที่จัดเตรียมไว้ 14. ต้องทำความสะอาดเครื่องมือฉีดพ่นสารเคมีภายหลังจากใช้เสร็จทุกครั้ง 15. ต้องอาบน้ำชำระร่างกาย และซักทำความสะอาดชุดที่ใส่ฉีดพ่นสารเคมีทันที