รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
Advertisements

โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) ประสานงานกับกรมการข้าว และสำนักงานเกษตรจังหวัด.
การจัดการหนอนใยผักแบบบูรณาการ
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
ระบบการปลูกข้าวใหม่ ของประเทศไทย
การแบ่งงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ
ไข้เลือดออก.
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระดับกลุ่มจังหวัดและระดับจังหวัด
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
สรุปผลการปิดอำเภอ ปีงบประมาณ 2555 ศสท. สผส. สวผ..
แผนปฏิบัติการสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัด พื้นที่ X-RAY ประจำปีงบประมาณ 2556 งาน / โครงการ / กิจกรรม จำนว น ช่าง สำรว จ จำนว น กล้อ ง ( เครื่ อง ) เพิ่ม.
แนวทางการประชุมกลุ่ม
ผลงาน ราย ผลงาน >20 ราย 13 จว. 16 แห่ง ขอนแก่น แพร่ นนทบุรี เชียงราย ลำปาง ปทุมธานี สระบุรี อ่างทอง สงขลา สุราษฎร์ ธานี ภูเก็ต หน่วยที่มี ผลงาน.
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
การดำเนินงานการบริหารศัตรูพืช
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
แนวทางการดำเนินงานโครงการ ที่สำคัญของกรมการข้าว ปี 2555
โครงการศึกษาเศรษฐกิจ การผลิตและการตลาดไหมไทย
MRCF การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง โดยการไถระเบิดดินดาน
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
เริ่ม ออก.
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
กลุ่มที่ 1 ประกอบด้วย 1. จังหวัดนนทบุรี 2. จังหวัดปทุมธานี 3. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 4. จังหวัดสระบุรี 5. จังหวัดชัยนาท 6. จังหวัดลพบุรี 7. จังหวัดสิงห์บุรี
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โครงการบริหารจัดการผลไม้ ภาคตะวันออก ปี 2552 สำนักงานจังหวัดตราด ได้รับอนุมัติวงเงิน 6,200,000 บาท ดังนี้
กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด สรุปสถานการณ์การระบาดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ระหว่างวันที่ 17 – 23 กุมภาพันธุ์ 54 รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด พื้นที่ที่ไม่พบการระบาด 19 จังหวัด ได้แก่ จ.อุทัยธานี เพชรบูรณ์ อ่างทอง สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี เพชรบุรี ขอนแก่น เลย อุบลราชธานี ราชบุรี สมุทรสาคร ระยอง พัทลุง นครศรีธรรมราช นครพนม นครนายก ปราจีนบุรี พิษณุโลก พื้นที่ที่พบการระบาดเพลี้ยฯ 2 จังหวัด ได้แก่ จ.สุพรรณบุรี อ.หนองหญ้าไซ 100 ไร่ จ.ชัยนาท อ.หันและอ.มโนรมย์ 1,520 ไร่ รวมพื้นที่ระบาด 1,620 ไร่ พื้นที่ระบาดจำแนกตามอายุข้าว มากกว่า 60 วัน 1,620 ไร่ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลอยู่ในระยะตัวอ่อน พื้นที่ที่พบเพลี้ยฯทั้งตัวเต็มวัยและตัวอ่อน แต่ยังไม่ถึงระดับทำความเสียหายแก่ข้าว ได้แก่ จ.ปทุมธานี

ปัจจัยที่มีผลต่อการระบาด มีการปลูกข้าวอย่างต่อเนื่อง ทำให้เป็นแหล่ง อาหารและแหล่งอาศัยในการขยายพันธุ์ เป็นช่วงลมมรสุมฝ่ายใต้และตะวันออกเฉียงใต้ พัดจากทะเลขึ้นบก สภาพอากาศเหมาะสมต่อการเพิ่มประชากร การปฏิบัติของเกษตรกรที่ไม่ถูกต้อง - การใช้พันธุ์ข้าวอ่อนแอ อัตราเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยเคมีและสารเคมี

การคาดการณ์ (เดือน ก. พ. –มี. ค การคาดการณ์ (เดือน ก.พ.–มี.ค. จะพบการระบาดของเพลี้ยฯเป็นบางจุดของพื้นที่) เป็นช่วงลมฝ่ายใต้และตะวันออกเฉียงใต้(ก.พ.-พ.ค.) ลมฝ่ายใต้ พัดจาก จ.สมุทรสาคร ไปสู่ จ.นครปฐม สุพรรณบุรี ชัยนาท อ่างทอง อุทัยธานี เป็นต้น ลมตะวันออกเฉียงใต้ พัดจาก จ.ฉะเชิงเทรา ไปสู่ จ.นครนายก ปทุมธานี นนทบุรี อยุธยา ลพบุรี เป็นต้น

แนวทางการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ผลการดำเนินงาน(10 - 16 ก.พ. 54) ใช้เชื้อราบิวเวอร์เรียพ่น จำนวน 5 กก. ในพื้นที่ระบาด 7 ไร่ที่ อ.ดอนเจดีย์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก ศจช.(จ.สุพรรณบุรี) จากการตรวจสอบ 3,5,7 วัน สามารถควบคุมสถานการณ์การระบาดได้แล้ว แนวทางการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล แผนการเฝ้าระวัง ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนติดตามสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง สัปดาห์ละ 1 ครั้งจากแปลงติดตามสถานการณ์ แผนการเตือนภัย เมื่อสำรวจพบเพลี้ยฯมีแนวโน้มการระบาดให้ประกาศเตือนภัยทางหอกระจายข่าวและวิทยุท้องถิ่น เพื่อให้เกษตรกรเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด

แผนการรณรงค์ควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระยะตัวอ่อนโดยวิธีผสมผสาน ศจช.ผลิตขยายเชื้อราบิวเวอร์เรีย สำหรับพ่นกำจัดเพลี้ยกระโดด ควบคุมทั้งวิธีกลและฟิสิกส์ พร้อมกันทุกพื้นที่ ใช้กับดักกาวเหนียวและแสงไฟล่อ เพื่อตัดวงจร ศจช.ผลิตสารกำจัดสะเดาพ่น เพื่อยับยั้งการลอกคราบ ถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรเกี่ยวกับการควบคุมระดับน้ำในแปลงนา ถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรเกี่ยวกับการอนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติเพื่อควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เช่นมวนเขียวดูดไข่ แมงมุม เป็นต้น แผนการสนับสนุน สำนักงานเกษตรจังหวัดประสาน 3 หน่วยงานในระดับท้องถิ่นเช่น อบต. อบจ. และจังหวัด เพื่อเสนอแผนการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล และสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ และงบประมาณในการดำเนินงาน ต่อไป