การพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยคุณภาพภาคเหนือ ปี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ Coffee Cooperative Networks
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
กว่าจะมาเป็น … เครือข่าย
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
การวางแผนและการดำเนินงานส่งเสริม
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
การจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ เขตพื้นที่บริการเครือข่ายที่ 2
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
กระบวนการจัดการความรู้
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวทางการบริหารจัดการผลไม้ระยะยาว
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
M R C F LONGAN (PILOT PROJECT)
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
ระบบส่งเสริมการเกษตร
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกาแฟ
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
ภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
1 โดย... นายชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ รองอธิบดีกรมการข้าว.
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
Foodsafety จำนวน สมาชิก ( คน ) สรุปผลการปฏิบัติงานเดือน เมษายน 2551.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยคุณภาพภาคเหนือ ปี 2556 - 2558

สถานการณ์การผลิตลำไยภาคเหนือ M แผนที่ปลูกลำไย 8 จังหวัด ข้อมูลการผลิต 8 จังหวัด พื้นที่ปลูก 854,916 ไร่ พื้นที่ให้ผล 805,405 ไร่ ผลผลิต 668,841 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย - ในฤดู 755 กก./ไร่ - นอกฤดู 1,309 กก./ไร่ เชียงราย พะเยา เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ ตาก

คณะทำงาน ฯวิเคราะห์ สถานการณ์การผลิตลำไย 8 จังหวัดภาคเหนือ C ข้อมูลการผลิต พื้นที่ให้ผล 818,023 ไร่ ผลผลิตรวม 578,673 ตัน -ในฤดู 414,784 ตัน -นอกฤดู 163,889 ตัน สภาพปัญหา สวนเก่า/เกษตรกรรายย่อย/สูงวัย ผลผลิตต่ำ/ไม่มีคุณภาพ ผลผลิตออกพร้อมกัน/ล้นตลาด ทางรอด ลดต้นทุน /เพิ่มผลผลิต/ปรับปรุงคุณภาพ ผลิตลำไย Gap/อินทรีย์/ผลิตลำไยนอกฤดู กลุ่มเข้มแข็ง/เครือข่ายการผลิต/ตลาด แนวทางแก้ไขปัญหา กลยุทธ์ที่ 1 ยกระดับการผลิต กลยุทธ์ที่ 2 ยกระดับองค์ความรู้ กลยุทธ์ที่ 3 ยกระดับราคา

ปัญหาการผลิตลำไย 8 จังหวัด M ปัญหาการผลิตลำไย 8 จังหวัด แผนที่ 8 จังหวัด 1. ปัญหาผลผลิตต่อไร่ต่ำ รวม 8 จังหวัด ในฤดู นอกฤดู 633 1,550 เชียงราย พะเยา น่าน น่าน 2. ปัญหาคุณภาพผลผลิต รวม 8 จังหวัด เกรด AA A B ร้อยละ 34 46 20 เชียงใหม่ ลำปาง ลำพูน แพร่ 3. ปัญหาผลผลิตออกพร้อมกัน/กระจุกตัว ช่วงวันที่ 15 ก.ค. – 15 ส.ค. 56 ปี ตัน ร้อยละ ปี 2555 326,703 70.96 ปี 2556 303,413 68.07 ตาก

ทางรอดในการผลิตลำไยภาคเหนือ พัฒนาศักยภาพการผลิต/ปรับปรุงคุณภาพการผลิต เน้นความปลอดภัยของผลผลิต (Gap/อินทรีย์) ลดต้นทุนการผลิต/เพิ่มผลผลิตต่อไร่ กระจายผลผลิตออกตลอดทั้งปี โดยเลือกช่วงการผลิต(ในฤดู/นอกฤดู) สร้างกลุ่มเครือข่ายการผลิตและการตลาด

ยุทธศาสตร์การผลิตลำไยภาคเหนือ เพื่อแก้ไขปัญหาการผลิตและการตลาดลำไย ปี 2556-2558 ยกระดับการผลิต 1.1 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 1.2 ปรับปรุงคุณภาพผลผลิตสู่ความปลอดภัย 1.3 สร้างความเข้มแข็งกลุ่มผู้ผลิต/แก้ไขปัญหาผลผลิตล้นตลาด กลยุทธ์ที่ 1 ยกระดับองค์ความรู้ 2.1 สนับสนุนระบบ Logistics 2.2 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ 2.3 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา กลยุทธ์ที่ 2 ยกระดับราคา 3.1 ส่งเสริมระบบตลาดภายในและต่างประเทศ 3.2 แปรรูปผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าผลผลิต 3.3 ประชาสัมพันธ์คุณค่าและคุณประโยชน์การบริโภคลำไยไทย กลยุทธ์ที่ 3

การปรับโครงสร้างการผลิตลำไยภาคเหนือ ปี 2556-2558 C วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมการผลิตลำไยคุณภาพนอกฤดู เพื่อกระจายผลผลิตตลอดทั้งปี 2. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตลำไยในฤดูและนอกฤดู คุณภาพระดับส่งออก 3. ส่งเสริมการผลิตลำไย Gap/อินทรีย์ คุณภาพระดับส่งออก โมเดลการพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยภาคเหนือ 1. โมเดลส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยนอกฤดูคุณภาพระดับส่งออก 2. โมเดล พัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยในฤดูคุณภาพระดับส่งออก 3. โมเดล ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไย Gap/อินทรีย์

ขั้นตอนการดำเนินงาน วิธีการ ระบบสนับสนุน 1.ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลำไย 1. กำหนดพื้นที่การผลิต เกษตรกร และเป้าหมายการผลิต 2. พัฒนาเกษตรกรผู้ผลิตทั้งในและ นอกฤดู 3. รวมกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต 4. พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตลำไยคุณภาพ 5. ระบบการสนับสนุนการผลิต 6. ระบบการตลาดและเครือข่าย ระบบสนับสนุน 1.ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลำไย คุณภาพใน-นอกฤดู/อินทรีย์ 2. สนับสนุนปัจจัยการผลิต 3. เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำเพื่อพัฒนาแหล่งน้ำ 4. ความรู้/เทคนิคการบริการจัดการ กลุ่ม 5. สร้างทีมงานบริหารจัดการสวน ลำไยแบบมืออาชีพ 6. แปลงเรียนรู้การผลิตลำไยคุณภาพ

เป้าหมายการผลิตลำไยภาคเหนือ M C F แผนที่ 8 จังหวัด 1.ผลิตนอกฤดู ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 40 : 60 18 : 82 28 : 72 เชียงราย พะเยา 2.ผลิตคุณภาพ ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 50:45:5 (AA:A:B) 35:50:15 45:50:5 น่าน เชียงใหม่ น่าน ลำปาง ลำพูน แพร่ 3.เพิ่มผลผลิต ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ในฤดู 700 750 800 นอกฤดู 1,600 1,650 1,700 ตาก

การใช้ MRCF ขับเคลื่อนการพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยภาคเหนือ Community Participation Remote Sensing Specific Field Service การมีส่วนร่วม กระบวนการเรียนรู้ Mapping การพัฒนาลำไยคุณภาพภาคเหนือ

สรุป การใช้ MRCF ขับเคลื่อนการพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยภาคเหนือ สินค้า ผลผลิตลำไยได้รับการพัฒนา 1. คุณภาพผลผลิตลำไยตรงความต้องการตลาด 2. ผลผลิตลำไยกระจายออกตลอดปีไม่กระจุกตัว 3. ผลผลิตลำไยปลอดภัยระดับ GAPและอินทรีย์ 4. ผลผลิตลำไยเฉลี่ยต่อไร่สูงขึ้นตามเป้าหมาย เกษตรกรผู้ผลิตลำไยได้รับการพัฒนา 1. รวมกลุ่มผู้ผลิตลำไยอย่างมีคุณภาพ 2. กลุ่มมีความเข้มแข็ง มีศักยภาพในการ ขับเคลื่อน ฯ และพึ่งพาตนเองได้ 3. กลุ่มมีเครือข่ายในระบบการผลิตและตลาด เกษตรกรได้รับการบริการ 1.เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและกำหนดพื้นที่การผลิตเหมาะสมสอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ 2.เกษตรกรได้รับการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเฉพาะพื้นที่ ใน-นอกฤดู/Gap/อินทรีย์ 3.เกษตรกรได้รับความรู้และเทคนิคการรวมกลุ่มผู้ผลิต/ระบบเครือข่าย/ระบบตลาด อย่างมีประสิทธิภาพ

ขอบคุณครับ