สารมลพิษทางอากาศเบื้องต้น ที่ควรสนใจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

FOOD PYRAMID.
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
กลุ่มวิจัยธาลัสซีเมีย
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
อากาศส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพ
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
Thailand Research Expo
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “สถานการณ์มลพิษทางอากาศ ในบรรยากาศในภาคตะวันออก” หลักการและเหตุผล มลภาวะทางอากาศ (Air pollution) เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
สุดยอดอาหารยืดชีวิตให้ยืนยาว
สารเมลามีน.
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
บารากุ หรือ บารากู่ ( baraku)
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
การออกกำลังกาย (EXERCISE).
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
L O G O ชุดทดสอบ กรดเรติโน อิก ใน เครื่องสำอา ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข.
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การชักและหอบ.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
มหันตภัยไดอ๊อกซิน (Dioxin)
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
ความเสี่ยงอันตรายจาก
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
Globally Harmonized System : GHS
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
Major General Environmental Problems
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
ศุภกิจ นันทะวรการ มูลนิธินโยบายสุขภาวะ 22 มีนาคม 2553
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
ภาวะแทรกช้อน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นพ.อำพล เวหะชาติ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
SELENIUM ซีลีเนียม.
ผลกระทบด้านสุขภาพจากหมอกควันและไฟป่า และแนวทางป้องกัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารมลพิษทางอากาศเบื้องต้น ที่ควรสนใจ รศ.ดร.นพ.พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช LL.B., M.D., Ph.D. ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 E-mail: pwiwatanadate@gmail.com

ภาพถ่ายถนนในกรุงลอนดอนปีค.ศ. 1923 ซึ่งเป็นที่มาของคำว่า “London Smog” (Maynard R. 2003. Pollution. In: ABC of Occupational and Environmental Medicine 2nd Ed (Snashall D). London:BMJ Publishing Group, pp 101-104.)

สารมลพิษทางอากาศ ฝุ่นขนาดเล็ก ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจน คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) โอโซน (O3) ไฮโดรคาร์บอน

ฝุ่นขนาดเล็ก อันตรายขึ้นกับขนาดและองค์ประกอบ สามารถก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพได้หลายระบบ เช่น ระบบทางเดินหายใจ (ไอ อาการของระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง) ระบบหัวใจและหลอดเลือด (กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ หัวใจวาย) ระบบตา ระบบผิวหนัง PM10 ยังเพิ่มความเสี่ยงของอัตราตายจากภาวะเส้นเลือดอุดตันในสมอง และทำให้น้ำหนักของทารกในครรภ์ลดลงอีกด้วย บางชนิดทำอันตรายต่อปอด เช่น ฝุ่นทรายทำให้เกิดซิลิโคซิส กลุ่มที่เสี่ยงได้แก่ ผู้ป่วยหอบหืดและปอดอุดกั้นเรื้อรัง

แสดงการเปรียบเทียบฝุ่นขนาดต่างๆ (ที่มา: Brook et al. 2004. Circulation 109: 2655-2671.)

ภาพเอ็กซเรย์ของผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง

ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไม่มีสี มีกลิ่นฉุนแสบจมูก จะค่อยๆ ทำปฏิกิริยากับออกซิเจน เป็นซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ (SO3) ซึ่งเมื่อรวมกับความชื้นเป็นกรดซัลฟูริค ก่อให้เกิดการระคายเคืองของระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ หลอดลมอักเสบเฉียบพลันและเรื้อรัง และเมื่อรวมกับฝุ่นละออง จะกระตุ้นให้หลอดลมหดตัว อาจนำไปสู่ระบบหายใจล้มเหลวได้ เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำหนักแรกคลอดของทารกน้อยลง และภาวะการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์น้อยด้วย

ออกไซด์ของไนโตรเจน ตัวสำคัญคือ ไนตริกออกไซด์ (NO) และไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) เกิดจากปฏิกิริยาเคมีระหว่างไนโตรเจนและออกซิเจนในระหว่างเผาไหม้เชื้อเพลิงที่อุณหภูมิสูง ทำให้เกิดการระคายเคืองที่ถุงลม ถุงลมโป่งพอง และหอบหืด เพิ่มความเสี่ยงของภาวะเส้นเลือดอุดตันในสมอง (Acute ischemic stroke) ทำให้น้ำหนักของทารกในครรภ์ลดลงและภาวะการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์น้อย อาจเปลี่ยนเป็น nitrosamines และทำให้เกิดมะเร็งที่ปอด

คาร์บอนมอนอกไซด์ ไม่มีสี ไม่กลิ่น ไม่มีรส เกิดจากกระบวนการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่ไม่สมบูรณ์ เมื่อถูกดูดซึมจะจับกับฮีโมโกลบินได้ดีกว่าออกซิเจน 200 เท่า ก่อให้เกิดภาวะเซลล์ขาดออกซิเจน ทำให้เป็นโรคหัวใจ เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำหนักแรกคลอดของทารกน้อยลง และภาวะการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์น้อย

โอโซน เกิดจากปฏิกิริยาทางเคมีระหว่างสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน โดยมีแสงแดดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เมื่อรวมตัวกับสารอื่นๆ ที่เกิดจากปฏิกิริยาเดียวกัน เช่น อัลดีไฮด์ คีโตน ทำให้เกิดหมอกสีขาวๆ ปกคลุมทั่วไปในอากาศ ทำให้ระคายเคืองต่อตา ระบบทางเดินหายใจ ความสามารถในการทำงานของปอดลดลง เหนื่อยง่าย เพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะเส้นเลือดอุดตันในสมอง (Stroke) กลุ่มเสี่ยงคือ เด็ก คนชรา และผู้ที่เป็นโรคปอด

ไฮโดรคาร์บอน เกิดจากเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของสารอินทรีย์จากยานพาหนะและโรงไฟฟ้า การจราจรและการเผาใบไม้ หญ้าแห้งเป็นแหล่งกำเนิดหลักของไฮโดรคาร์บอน กลุ่มไฮโดรคาร์บอนที่สำคัญคือ Polycyclic aromatic hydrocarbon (PAH) ทั้งนี้ International Agency for Research on Cancer ได้จัดให้สารเคมีในกลุ่ม PAH เป็นสารก่อมะเร็งกลุ่มต่างๆ

ภาพก้อนมะเร็งปอด

สารอินทรีย์ระเหยง่าย สารอินทรีย์ระเหยง่าย ทำให้เกิดโรคได้หลายระบบ เช่น ระบบทางเดินหายใจ ระบบประสาท ระบบไหลเวียนโลหิต ตับ ไต ระบบเลือด ระบบผิวหนัง ระบบสืบพันธุ์ และมะเร็งชนิดต่างๆ