ภูเขาไฟ (vulcanology หรือ volcanology)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
Advertisements

ไฟป่า(Forest Fire).
(Landslide or Mass movement)
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
Global Warming.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
and Sea floor spreading
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
วาตภัย.
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ระบบสุริยะ (Solar System).
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
Demonstration School University of Phayao
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่
ตราด.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
ข่าวโลกและการ เปลี่ยนแปลง นางสาวฉัตรภิรมย์ อ่อนทอง.
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
ดินถล่ม.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
โลก (Earth).
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
อุตุนิยมวิทยากับการแจ้งเตือนภัย
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
การหักเหของแสง (Refraction)
หน่วยการเรียนที่ 1 ความปลอดภัยทั่วไป.
จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์
ดวงจันทร์ (Moon).
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
ภาวะโลกร้อน.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
หินแกรนิต หินแปรเนื้อหยาบ มีริ้วขนาน หยักคดโค้งไม่สม่ำเสมอ สีเข้มและจางสลับกัน แปรสภาพมาจากหินแกรนิต โดยการแปรสภาพบริเวณไพศาล ที่มีอุณหภูมิสูงจนแร่หลอมละลาย.
โลกและสัณฐานของโลก.
งานชิ้นที่..1 ชื่อ น. ส. สุภาลัย หมายถม กลาง. ความหมายและคุณค่าของการ ทำโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อ ความเจริญก้าวหน้าของทุกๆ.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภูเขาไฟ (vulcanology หรือ volcanology) จัดทำโดย :นายพีรายุทธ ผลมาตย์ 56060151 คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาจิตรกรรม

ภูเขาไฟ ภูเขาไฟ เป็นธรณีสัณฐาน (โดยทั่วไป คือ ภูเขา) ที่หินหนืด (หินภายในโลกที่ถูกหลอมเหลวด้วยความดันและอุณหภูมิสูง) ปะทุผ่านขึ้นมายังพื้นผิวของดาวเคราะห์ แม้ว่าเราจะสามารถพบภูเขาไฟได้หลายแห่งบนดาวเคราะห์หินและดาวบริวารในระบบสุริยะ แต่บนโลก ภูเขาไฟมักเกิดขึ้นใกล้กับแนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก อย่างไรก็ตาม ยังมีภูเขาไฟที่เป็นข้อยกเว้น เรียกว่า ภูเขาไฟจุดร้อน (Volcanic Hotspot) วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับภูเขาไฟ เรียกว่า วิทยาภูเขาไฟ (vulcanology หรือ volcanology)

การจำแนกภูเขาไฟตามรูปร่าง ภูเขาไฟนั้นมี 3 ลักษณะใหญ่ๆด้วยกัน 1. กรวยภูเขาไฟสลับชั้น  (Composite Cone Volcano) 2. ภูเขาไฟรูปโล่ (Shield Volcano) 3. กรวยกรวดภูเขาไฟ (Cinder Cone)

แบบที่ 1 กรวยภูเขาไฟสลับชั้น  (Composite Cone Volcano) เป็นภูเขาไฟซึ่งเกิดจากการสลับหมุนเวียนของชั้นลาวา และเศษหิน ภูเขาไฟชนิดนี้อาจจะดันลาวาไหลออกมาเป็นเวลานาน และจะเปลี่ยนแปลงรูปแบบการประทุอย่างกะทันหัน ภูเขาไฟชนิดนี้ที่มีชื่อ เช่น ภูเขาไฟฟูจิ (ญี่ปุ่น), ภูเขาไฟมายอน (ฟิลิปปินส์) และ ภูเขาไฟเซนต์เฮเลน (สหรัฐอเมริกา)

กรวยภูเขาไฟสลับชั้น (Composite Cone Volcano)

แบบที่ 2 ภูเขาไฟรูปโล่ (Shield Volcano) เป็นภูเขาไฟที่มีขนาดใหญ่ โดยพื้นฐานแล้วภูเขาไฟชนิดนี้เกิดจาก ลาวาชนิดบาซอลท์ที่ไหลด้วยความหนืดต่ำ ลาวาที่ไหลมาจากปล่องกลาง และไม่กองสูงชัน เหมือนภูเขาไฟชนิดกรวยสลับชั้น ภูเขาไฟชนิดนี้มักจะเป็นภูเขาไฟที่ใหญ่ เช่น ภูเขาไฟ Mauna Loa (ฮาวาย)

แบบที่ 2 ภูเขาไฟรูปโล่ (Shield Volcano)

แบบที่ 3 กรวยกรวดภูเขาไฟ (Cinder Cone) ภูเขาไฟชนิดนี้จะสูงชันมาก และเกิดจากลาวาที่พุ่งออกมาทับถมกัน ลาวาจะมีความหนืดสูง การไหลไม่ต่อเนื่อง และมีลักษณะเป็นลาวาลูกกลมๆ ที่พุ่งออกมาจากปล่องเดี่ยว และทับถมกันบริเวณรอบปล่อง ทำให้ภูเขาไฟชนิดนี้ไม่ค่อยก่อให้เกิดความสูญเสียชีวิตมากมาย

แบบที่ 3 กรวยกรวดภูเขาไฟ (Cinder Cone)

ผลกระทบจากการระเบิดของภูเขาไฟ แรงสั่นสะเทือนสั่นมากๆ มีทั้งการเกิดแผ่นดินไหวเตือน แผ่นดินไหวจริง และแผ่นดินไหวติดตาม ถ้าประชาชนไปตั้งถิ่นฐานอยู่บนเชิงภูเขาไฟอาจหนีไม่ทันเกิดความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน การเคลื่อนที่ของลาวา อาจไหลออกมาจากปากปล่องภูเขาไฟเคลื่อนที่รวดเร็วถึง 50,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง มนุษยและสัตว์อาจหนีภัยไม่ทันเกิดความสูญเสียอย่างใหญ่หลวง เกิดเถ้าภูเขาไฟ บอมบ์ภูเขาไฟ ระเบิดขึ้นสู่บรรยากาศ ครอบคลุมอาณาบริเวณใกล้ภูเขาไฟ และลมอาจพัดพาไปไกลจากแหล่งภูเขาไฟระเบิดหลายพันกิโลเมตร เช่น ภูเขาไฟพินาตูโบระเบิดที่เกาะลูซอนประเทศฟิลิปปินส์

ฝุ่นภูเขาไฟยังมาตกทางจังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย เช่น จังหวัดสงขลา นราธิวาส และปัตตานี เกิดมลภาวะทางอากาศและแหล่งน้ำกินน้ำใช้ของประชาชน รวมทั้งฝุ่นภูเขาไฟได้ขึ้นไปถึงบรรยากาศขั้นสตราโตสเฟียร์ ใช้เวลานานหลายปี ฝุ่นเหล่านั้นตึงจะตกลงบนพื้นโลกจนหมด เกิดคลื่นสึนามิ ขณะเกิดภูเขาไฟระเบิด โดยเฉพาะภูเขาไฟใต้ท้องมหาสมุทร คลื่นนี้จะโถมเข้าหาฝั่งสูงกว่า 30,000 เมตร หลังจากภูเขาไฟระเบิด เถ้าภูเขาไฟจะถล่มลงมา ทำให้พื้นที่ใกล้เคียงถูกทำลาย

ภูเขาไฟในประเทศไทย

ภูเขาไฟดอยผาคอกจำป่าแดด และปล่องภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู จังหวัดลำปาง ภูเขาไฟในประเทศไทย ภูเขาไฟดอยผาคอกจำป่าแดด และปล่องภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู จังหวัดลำปาง ภูเขาพระอังคาร ตำบลเจริญสุข อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ ภูเขาหลวง จังหวัดสุโขทัย ภูเขาพนมสวาย (วนอุทยานพนมสวาย) จังหวัดสุรินทร์ สถิติอยู่ที่ 52 ครั้ง ภูเขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ เขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์

วิธีป้องกันตัวขณะภูเขาไฟระเบิด สวมเสื้อคลุม กางเกงขายาว ถุงมือเพื่อป้องกันเถ้าภูเขาไฟและความร้อนจากการระเบิด ใส่หน้ากากอนามัย แว่นตาทุกชนิดเพื่อป้องกันเถ้าภูเขาไฟ เตรียมเสบียง ยารักษาโรค เครื่องใช้ที่จำเป็นรวมทั้งเครื่องมือสื่อสารเช่นโทรศัพท์ วิทยุFM,AM ติดตามข่าวสารจากทางราชการอย่างเคร่งครัดและเมื่อทางการสั่งอพยพให้อพยพออกจากพื้นที่ทันทีอาจไปรวมตัวกันที่สถานที่หลบภัยทันที ไม่ควรหลบอยู่ในอาคารสิ่งก่อสร้างเพราะอาจถล่มลงมาจากแผ่นดินไหวหรือเถ้าภูเขาไฟ

แหล่งข้อมูลอ้างอิง  http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1378723836&grpid=01&catid=&subcatid=

The End