สาขา วาริชศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

ความสุขเปรียบเหมือนผีเสื้อ
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
รูปแบบการจัดองค์ประกอบ
กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์
กลุ่มวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักพัฒนาพันธุ์สัตว์ กรมปศุสัตว์
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
9.บลูเทอร์เรีย 3.ชเนาเซอร์ 10.ปั๊ก 5.เซนต์เบอร์นาร์ค 8.บลูด็อก
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
โดย มิสจารุวรรณ สัจจะวัฒนวิมล ม.นพดล ปัญญาดี
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
สุนัขบาเซนจิชอบร้องเพลงแต่ไม่ชอบเห่า
ควายเพื่อทำพ่อพันธุ์
การคัดเลือก “ควายงาม” ตามอุดมคติ หรืออุดมทัศนีย์ (Ideal type)
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชางานประดิษฐ์จากดินไทย
วิวัฒนาการ เต่าทะเล.
วิวัฒนาการของพะยูน.
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
ชายหาดทะเลในจังหวัดระยอง
หมีขั้วโลก.
นางสาวจิตรลดาพร แพงดี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวาริชศาสตร์
นำเสนอ อาจารย์วิชัย บุญเจือ จัดทำโดย นางสาวสาวิณี เจิมขุนทด
MY DOGS MY LOVE จัดทำโดย นางสาวณัฐพร แสงอรุณ
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
เรื่อง เต่าทะเล (Sea Turtle)
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การเลี้ยงสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ รศ..ดร.วิโรจน์ ภัทรจินดา
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
13 อันดับ สัตว์น้ำจืดที่น่ากลัวที่สุดในโลก
ด้วงกว่าง.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์
ประเภทของมดน่ารู้.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
Welcome to .. Predator’s Section
ดอกไม้ฤดูหนาว.
สัตว์โลกดึกดำบรรพ์ ที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ปลาหางนกยูง.
เรื่อง ประโยค.
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
เรื่อง สัตว์ ถัดไป.
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
สัตว์ ถัดไป.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาขา วาริชศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์ ปลาหมอสี จัดทำโดย นางสาว เยาวพา พื้นผา 54030644 สาขา วาริชศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์

ความรู้เกี่ยวกับปลาหมอสี เป็นปลาที่กำลังเป็นที่นิยมของนักเลี้ยงปลาบ้านเรา แรกทีเดียวก่อนที่จะเข้ามาสู่ตลาดเอเชียนั้น ได้รับความ สนใจและนิยมเลี้ยงกันในแถบอเมริกา ยุโรปกันก่อนแล้ว เพราะเป็นปลาตู้ที่เลี้ยงง่าย มีสีสันโดดเด่น สวยงาม และแปลกตาของนักเลี้ยงปลาสวยงาม

แหล่งกำเนิด ปลาหมอสี มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ตามลุ่มน้ำหรือทะเลสาบในต่างประเทศ มีนิสัยค่อนข้างรักถิ่นฐาน หากมีปลาอื่นบุกรุกเข้ามาในเขตของมัน มันก็จะขับไล่ผู้บุกรุกออกไป

อาหาร ปลาหมอสี ควรมีส่วนผสมที่ใกล้เคียงกับอาหารธรรมชาติมากที่สุด ควรเลี้ยงอาหารปลากินพืช พวกปลากินสัตว์ เช่น กุ้ง ไรน้ำเค็ม หรืออาหารสำเร็จรูปที่ใช้เลี้ยง กับอาหารสำเร็จรูปที่ใช้โดยทั่วไปควรมีส่วน ประกอบของกากถั่ว กุ้ง สาหร่ายเกลียวถ้าให้อาหารมากเกินไปจะทำให้ปลาไม่มีไข่และน้ำเชื้อ

ธรรมชาติของปลาหมอสี เป็นปลาที่อดทน สามารถอดอาหารนับสิบวัน หากท่านไม่อยู่บ้าน 5 – 10 วัน ตอนที่แม่ปลาที่ฟักไข่ด้วยปาก ต้องอมไข่จนไข่ฟักเป็นตัว และอมต่อไปจนกระทั่งลูกปลาสามารถว่ายน้ำออกจากปาก เพื่อหากินอาหารต่อไป ซึ่งใช้เวลาอีก 15-20 วัน ในระยะนี้แม่ปลาจะไม่กินอาหารใดๆ ทั้งสิ้น

การเพาะพันธุ์ การผสมพันธุ์นั้นเมื่อตัวเมียเริ่มวางไข่ตัวผู้ก็จะปล่อยน้ำเชื้อผสมกับไข่ ปลาหมอสีส่วนเมื่อตัวผู้ปล่อยน้ำเชื้อเสร็จปลาตัวเมียก็จะอมไข่ไว้และทำเช่นนี้เรื่อยๆจนไข่หมด ซึ่งปลาหมอสีจะอมไข่ได้ครั้งละประมาณ 30-40 ฟอง เมื่อครบ 15 วัน ลูกปลาจะเริ่มฟักเป็นตัวระยะนี้เราสามารถนำแม่ปลามาเปิดปากเพื่อนำลูกปลาออกมาแล้วนำไปอนุบาลต่อไป

1. ปลาหมอสีสกุลแอริสโทโครมิส สายพันธุ์ ปลาหมอสี 1. ปลาหมอสีสกุลแอริสโทโครมิส ลักษณะของจะงอยปากที่เป็นสันนูนขึ้นมาลักษณะลำตัวยาวแบนข้างหัวโต ตามีขนาดปานกลางคอดหางสั้น ครีบกระโดงที่ส่วนปลายเป็นก้านครีบอ่อนจะยกสูงขึ้นจากแนวของส่วนที่เป็นก้าน ครีบเดี่ยว ปลายกระโดงมนและยาวจรดโคนหาง ครีบอกและตะเกียบมีขนาดใกล้เคียงกัน ครีบหางมีขนาดใหญ่ ปลายครีบเกือบตัดจุดเด่นคือในระยะโตเต็มวัยมีหัวสีฟ้าคราม ลำตัวสีน้ำเงินแถบสีดำ ขอบเกล็ดสีดำ ครีบกระโดงส่วนที่เป็นก้านครีบเดี่ยวสีฟ้า ครีบก้นสีเหลือง มีจุดไข่สีฟ้า ตะเกียบสีเหลืองขอบฟ้าครีบอกเหลืองใส

2.ปลาหมอสีสกุลออโลโนคารา ลำตัวยาวเรียว หัวมีขนาดปานกลางได้สัดส่วนกับลำตัว ตาโตและโปน ช่วงตาห่างปาเฉียงขึ้นเล็กน้อย คอดหางยาวเรียว ครีบกระโดงมีปลายเรียวยาว ส่วนปลายสุดของกระโดยเกือบจรดปลายหาง ครีบหางเว้า ครีบก้นมีขนาดค่อนข้างใหญ่ตะเกียบใหญ่กว่าครีบอกและปลายตะเกียบยาวเลยจุด เริ่มของครีบหาง ลักษณะเด่นของมาลาวีเหลือง พื้นลำตัวมีสีเหลืองและแถบสีน้ำเงินขวางลำตัว 5-7 แถบ แก้มสีน้ำเงิน กระโดงสีเหลือง มาลาวีเหลืองเป็นปลาขนาดเล็ก ตัวเมียมีขนาดเล็กกว่าตัวผู้กินสัตว์น้ำขนาดเล็กในธรรมชาติเป็นอาหารการผสมพันธุ์โดยตัวเมียอมไข่ ส่วนการเลี้ยง ผู้เลี้ยงจะให้อาหารสำเร็จรูป

3. ปลาหมอสีสกุลลาบิโอโทรเฟียส ที่ปลายจะงอยปากที่ยืนล้ำเลยออกไปจากริม ฝีปากบนลักษณะคล้ายปลายจมูกที่โด่งปลาสกุลนี้มีเพียง 2 ชนิด หมอปากโลมาตัวอ้วนห้าสี ลำตัวสีเหลืองส้มและมีจุดดำกระจายทั่วไป นัยน์ตาไม่มีสีแดงและมีจุดไข่ที่ครีบก้น หมอปากโลมาตัวผอม มีลำตัวสั้นและผอมกว่าหมอปากโลมาตัวอ้วน แต่จะงอยปากลาดเรียวแหลมกว่า มีสีเหลืองสนิมอยู่ในแนวสันหลัง ส่วนบนของข้างลำตัว

4.ปลาหมอสีสกุลโคพาไดโครมิส สมาชิกของปลาสกุลนี้รูปร่างแตกต่าง กันไปตามชนิด ในช่วงนอกฤดูสมพันธุ์วางไข่ การหากินรวมกันเป็นฝูงใหญ่ อาหารหลัก คือ แพลก์งตอนพืชและแพลก์งตอนสัตว์ ดังนั้น ปากของมันจึงพัฒนาให้เหมาะสมต่อการจับอาหารที่มีขาดเล็ก โดยริมฝีปากบนและล่างเชื่อมติดกันมีลักษณะคล้ายท่อ ซึ่งสามารถยืดและหดได้ ชนิดปลาในสกุลนี้ อาทิ หมอบอร์เลยี คาดันโก จุดเด่นของปลาหมอบอร์เลยี อยู่ที่ครีบตะเกียบที่มีปลายยาวเรียวเป็นสายรยางค์ ครีบหางมีขนาดใหญ่ปลายเว้าไม่ลึก ครีบหูบางและโปร่งใสจนเห็นก้านครีบชัดเจน ลักษณะของสีแตกต่างกันไปตามท้องถิ่นที่อยู่อาศัย

หลักทั่วไปใน การเลี้ยง ปลาหมอสี 1. น้ำต้องสะอาดไม่ควรมีเชื้อโรค ห้ามใช้น้ำประปาที่เปิดจากก๊อกน้ำโดยตรง เฉพาะคลอรีนและปูนที่อยู่ในน้ำจะฆ่าปลาได้ในเวลาอันรวดเร็ว ควรพักน้ำประปา ไว้สัก 2-3 วันจึงนำมาใช้ 2. ใช้เครื่องกรองน้ำ ซึ่งหาซื้อได้ตามร้านทั่วไปเลือกให้เหมาะกับขนาดของตู้ 3. ขนาดของตู้เลี้ยงควรจะใหญ่สักหน่อย ถ้าเลี้ยงพวกหมอสีพันธุ์เล็ก ความยาวของตู้ไม่ควรต่ำกว่า 24 นิ้ว ถ้าเป็นพันธุ์ใหญ่ก็ไม่ควรต่ำกว่า 36 นิ้ว ควรมีสัก 2 ตู้ เพื่อเป็นตู้พักปลา 1 ตู้ ตู้เลี้ยง 1 ตู้

4. อาหารปลาหมอสีกินอาหารสำเร็จรูปได้ดี ซึ่งเราหาซื้อได้ทั่วไป แต่ถ้าที่บ้านใกล้แหล่งเพาะยุงหรือใกล้บริเวณที่มี ลูกน้ำลูกไรมาก และหาได้สะดวกก็ให้ลูกน้ำ ลูกไร เป็นอาหารจะดีมากทั้งประหยัดเงินและมีอาหารที่มีคุณค่าดี 5. ก้อนหิน ก้อนกรวด พันธุ์ไม้น้ำที่เราคิดว่าจะจัดลงไปในตู้นั้นควรจะทำความสะอาดให้ดี ก้อนหินก็ควรจะแช่น้ำลดความเป็นด่างลงพันธุ์ไม้ น้ำก็ควรจะพักไว้ในถัง หรือ ตู้อื่นๆ รอจนมันฟื้นตัวได้แล้วค่อยนำมาจัดในตู้

6. ตู้ปลาควรจะตั้งอยู่ใกล้กับที่พักน้ำ เพื่อเปลี่ยนน้ำในตู้ปลาได้สะดวก ปัญหานี้ดูเหมือนเล็กแต่ก็มีหลายๆรายที่เลิกเลี้ยงปลา เพราะต้องเปลี่ยนน้ำในตู้ปลาบางรายถึงขั้นทะเลาะกันเพราะเกี่ยงกันเปลี่ยน น้ำตู้ปลา บางรายถูกคำสั่งห้ามเลี้ยงหลังจากการเปลี่ยนน้ำตู้ปลาผ่านไปไม่ถึงครึ่ง ชั่วโมง เพราะขณะเปลี่ยนน้ำตู้ปลาบริเวณระหว่างที่พักน้ำกับตู้ปลาจะกลายเป็นเขต อันตรายสูงสุดต่อชีวิตของคนแก่และเด็ก รวมทั้งสตรีมีครรภ์ไปในทันที การลื่นหกล้มในบริเวณนี้จะเกิดขึ้นบ่อยมาก

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ