บทที่ 1 บุคคล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินการควบคุม สินค้าที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหิน
Advertisements

แบบฝึกหัด บทที่4.
กลุ่มที่ 2 1. ผู้เยาว์สิ้นสุดการเป็นผู้เยาว์เมื่อใด
กฎหมายมรดก.
ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา
สื่อประกอบการเรียนรู้
วิชา มรดก โดย เมทินี ชโลธร.
โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร
ตารางเปรียบเทียบการจ้างงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่างๆ ระหว่างลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) กับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข.
โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย
การเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี ( ตาม มาตรา 56 ทวิ)
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law)
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการตั้งครรภ์แทน
การใช้กฎหมายเกี่ยวกับการชำระบัญชี
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 ประเภทของยา แบ่งตามแผนของการประกอบโรคศิลปะ
กฎหมายลักษณะบุคคล.
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
การดำเนินคดีสุราขาวปลอม
คุณภาพชีวิต.
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
๑๓. ๐๐ – ๑๓. ๔๐ น. ๑๓. ๔๐ – ๑๖. ๐๐ น. ๑๓. ๐๐ – ๑๓. ๔๐ น.
มาตรา ๒๕ ถึง มาตรา ๒๘ รวม ๔ มาตรา ( ต่อ ) สำคัญ.
ทะเบียนครอบครัว โดย สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
The Comptroller General’s Department
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบแจ้งการเกิดอุบัติภัยร้ายแรง หรือการประสบอันตรายจากการทำงาน พ.ศ ลงวันที่ 19 กันยายน 2554.
กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งการผลิตเพื่อขาย หรือนำเข้าเพื่อขายเครื่องสำอางควบคุม พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน 2553.
สรุปสาระสำคัญ 1. ผู้ที่มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าซึ่งมีกำลังผลิตรวมตั้งแต่ 200กิโลโวลต์แอมแปร์ขึ้นไป อยู่ในครอบครอง เพื่อทำการผลิตไฟฟ้า จะต้อง ขออนุญาต ทำการผลิตพลังงานควบคุม.
สำนักงานขนส่งจังหวัดอุบลราชธานี
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉลากและการโฆษณาเครื่องสำอาง
สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
ทุนส่งเสริมการศึกษาบุตรสมาชิก
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
การตรวจสอบหลักฐาน เพื่อเชื่อมโยงสิทธิ ระหว่างผู้มีสิทธิกับบุคคลในครอบครัว ในการจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐตามโครงการจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล
เอกสารอ้างอิง ที่ใช้ในการจัดทำฐานข้อมูล
กฎหมายมรดก การรับมรดกแทนที่.
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การขอรับเงินช่วยเหลือกรณีบาดเจ็บหรือเสียชีวิต จำนวน 5 แหล่ง
การแสดงเจตนา ศ.ดร.กำชัย จงจักรพันธ์.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
นิติกรรม และ สัญญา บทนำ สิทธิและหน้าที่ สิทธิ มีความหมาย 2 นัย
มาตรา ๑๔๔๙ การสมรสจะกระทำมิได้ถ้าชายหรือหญิง เป็นบุคคลวิกลจริต หรือเป็นบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็น คนไร้ความสามารถ.
แล้วคุณเป็นใคร ?.
มาตรา ๑๔๔๘ การสมรสจะทำได้ต่อเมื่อชาย และหญิง มีอายุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว แต่ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอาจอนุญาตให้ทำการ สมรสก่อนนั้นได้
การจัดการงานบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์
มาตรา ๑๔๕๒ ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่ สมรสอยู่ไม่ได้
สวัสดิการการรักษาพยาบาล
ข่าว “เมาแล้วขับ” กับศาลไทย
ทะเบียนราษฎร.
Subject of Law ใครบ้างที่มีตัวตนในสายตาของกฎหมาย? 12 Subject of Law.
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มี มาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้น มิได้มีไว้สําหรับตน.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม Story of stuff
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
คำชี้แจงกระทรวงแรงงาน เรื่อง พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 12 กันยายน 2554.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
บทที่ 6 บุคคล บุคคลคือผู้ทรงสิทธิหน้าที่ในกฎหมาย (Subject of Law)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 บุคคล

วัตถุประสงค์เฉพาะบท นักศึกษาเข้าใจ การเริ่มต้นของสภาพบุคคล ความสามารถ ของผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ การสิ้นสภาพบุคคลของบุคคลธรรมดา สิทธิหน้าที่ของนิติ บุคคล ความสามารถของนิติบุคคล สิ่งซึ่งได้กับสภาพบุคคล

ความหมาย บุคคล หมายถึง ผู้ทรงสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย( Subject of Law) ผู้ทรงสิทธิ ได้แก่ ผู้ที่กฎหมายให้การรับรองว่าเป็นผู้มี สิทธิต่างๆ เช่น สิทธิในเนื้อตัวร่างกาย ทรัพย์สิน ชื่อเสียง ในการเลือกตั้ง ฯลฯ และได้รับการคุ้มครองจาก กฎหมาย ผู้ทรงหน้าที่ ได้แก่ ผู้ที่มีหน้าที่ต้องกระทำ งดเว้นกระทำ

ร.ธ.น. พ.ศ.2550 มาตรา 32 วรรค 1 “บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย” มาตรา 33 “บุคคลย่อมมีเสรีภาพในเคหสถาน บุคคลย่อมได้รับ ความคุ้มครองในการที่จะอยู่อาศัยและครอบครอง เคหสถานโดยปกติสุข....”

คำพิพากษาฎีกาที่ 540/2506 มัสยิดที่ยังมิได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ย่อมไม่อยู่ในฐานะรับอุทิศทรัพย์สินที่มีผู้จะอุทิศให้

ประเภทของบุคคล ตามกฎหมายไทยมี 2 ประเภท ตามกฎหมายไทยมี 2 ประเภท 1. บุคคลธรรมดา (Natural person) หมายถึง คน 2. นิติบุคคล (Juristic person) หมายถึง บุคคลที่ กฎหมายสมมุติขึ้นโดยรับรองให้มีสิทธิและหน้าที่ เช่นเดียวกับบุคคลธรรมดา

บุคคลธรรมดา การเริ่มสภาพบุคคล สภาพบุคคลเริ่มขึ้นเมื่อใด? = เมื่อไหร่ถึงจะเริ่มนับว่าเป็นคน ?= ผู้ ทรงสิทธิหน้าที่เริ่มขึ้นเมื่อใด? ป.พ.พ. ม.15 ว.1 “สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่ รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตาย” (Personality begins with the full completion of birth)

สภาพบุคคลของบุคคลธรรมดาเริ่มขึ้นเมื่อ 1. คลอด และ ทารกหลุดพ้นจากมารดาหมดทั้งตัว 2. อยู่รอดเป็นทารก ทารกนั้นมีแสดงการมีชีวิตภายหลังจากที่มีการคลอด เช่น หัวใจเต้น สายสะดือเต้น มีการเคลื่อนไหวชัดเจน ของกล้ามที่อยู่ภายใต้การควบคุมของจิตใจ

กรณีศึกษา กรณีแรก นายเอกขับรถโดยประมาทชน นางโท ซึ่งกำลัง ตั้งครรภ์ท้องแก่ เป็นเหตุให้ นางโท แท้งบุตร กรณีที่ 2 นายดำขับรถโดยประมาทชน ด.ช.แดง ถึงแก่ ความตาย ทั้งสองกรณี นายเอก และนายดำ จะต้องรับโทษที่เท่ากัน หรือไม่

มาตรา 291 “ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำ นั้นเป็นเหตุ ให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองหมื่นบาท” มาตรา 300 “ผู้ใดทำกระทำโดยประมาทและการกระทำ นั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส(แท้งลูก) ต้อง ระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

กรณีศึกษา นายมา ถึงแก่ความตายซึ่งในขณะนั้นนายมามีภริยาคือ นางน้อย ซึ่งกำลังตั้งครรภ์ท้องแก่ และมีบุตรชายอีก 1 คนคือ ด.ช. เก่ง เช่นนี้ถ้ามรดกของนายมา จะตกทอด แก่ผู้ใด? มาตรา 1604 “บุคคลธรรมดาจะเป็นทายาทได้ก็ต่อเมื่อมี สภาพบุคคล..” มาตรา 1635 (โดยสรุป) ถ้าผู้ตายมีบุตรและคู่สมรสในขณะที่ ถึงแก่ความตาย บุตรและคู่สมรสของผู้ตายได้รับส่วนแบ่ง เท่ากัน

การขยายความคุ้มครองถึงสิทธิของทารกในครรภ์มารดา มาตรา 15 “สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็น ทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตาย ทารกในครรภ์มารดาก็สามารถมีสิทธิต่าง ๆ ได้ หากว่า ภายหลัง คลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก” สรุปได้ว่า กฎหมายให้ความคุ้มครองแก่ทารกย้อนไปตั้งแต่ขณะที่ยัง อยู่ในครรภ์มารดา หากได้คลอดและอยู่รอด ทารกนั้นก็สามารถที่จะ เรียกร้องสิทธิต่างๆบรรดาที่เกิดขึ้นตั้งแต่ขณะที่ตนอยู่ในครรภ์ได้

กรณีศึกษา นายมา ถึงแก่ความตายซึ่งในขณะนั้นนายมามีภริยาคือ นางน้อย ซึ่งกำลังตั้งครรภ์ท้องแก่ และมีบุตรชายอีก 1 คนคือ ด.ช. เก่ง เช่นนี้ถ้ามรดกของนายมา จะตกทอด แก่ผู้ใด? มาตรา 1604 “บุคคลธรรมดาจะเป็นทายาทได้ก็ต่อเมื่อมี สภาพบุคคลหรือสามารถมีสิทธิได้ตามมาตรา 15 แห่ง ประมวลกฎหมายนี้ ในเวลาที่เจ้ามรดกถึงแก่ความตาย”