ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
ดำเนินงานโดย สำนักฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรบุคคล กับภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
“ โครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้น ” เรื่อง รู้จักโปรแกรม OrCAD Capture PSPICE กับการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าสำหรับ อาจารย์ในระดับอาชีวศึกษา 14 ตุลาคม 2554 เวลา.
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
X-Ray Systems.
Welcome to Electrical Engineering KKU.
8. ไฟฟ้า.
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Sinusoidal Steady-State Analysis
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
ชุดทดลองวงจรและ เครื่องมือวัดพื้นฐาน
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
การแปรผันตรง (Direct variation)
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
การต่อวงจรบนแผ่นโพโตบอร์ด
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
การใช้มัลติมิเตอร์แบบแอนาลอกวัดค่าความต้านทาน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
การใช้งาน โวลท์มิเตอร์
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
ผศ.กสิณ ประกอบไวทยกิจ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
การวิเคราะห์แบบลูป ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วัตถุประสงค์ เขียนวงจรไฟฟ้าด้วยสัญลักษณ์ไฟฟ้าได้ถูกต้อง บอกส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าได้ เข้าใจกฎของโอห์ม คำนวณหาค่าปริมาณทางไฟฟ้าต่าง ๆ ได้ รู้วิธีการวัดค่าปริมาณไฟฟ้า และการใช้มิเตอร์

สัญลักษณ์และส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าที่สมบูรณ์จะต้องประกอบด้วยส่วนประกอบ 6 ประการด้วยกัน 1. แหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า (Energy Source) 2. ตัวนำไฟฟ้า(Conductor) 3. ฉนวนไฟฟ้า(Insulator)

สัญลักษณ์และส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า 4. ภาระไฟฟ้า (Load) 5. อุปกรณ์ควบคุม(Control Device) 6. อุปกรณ์ป้องกัน(Protection Device)

สัญลักษณ์และส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า สัญลักษณ์ของความต้านทาน

สัญลักษณ์และส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า การเขียนวงจรไฟฟ้า (Schematic Diagram) สามารถเขียนได้สองแบบดังรูป การเขียนแบบจุดดินร่วมในวงจรไฟฟ้า

สัญลักษณ์และส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า

กฎของโอห์ม กระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้านั้น จะแปรผันตรงกับแรงดันของแหล่งจ่ายไฟฟ้า แต่จะแปรผกผันกับค่าความต้านทานในวงจรไฟฟ้า

กำลังไฟฟ้า กำลังไฟฟ้า หมายถึง อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วยเวลา

กำลังไฟฟ้า หรือ

กำลังไฟฟ้า กำลังไฟฟ้ามีค่าเป็นบวกหมายถึงองค์ประกอบได้รับกำลังไฟฟ้า โดยองค์ประกอบที่รับกำลังไฟฟ้าอย่างเดียวโดยไม่จ่ายกำลัง ไฟฟ้าออกมา เรียกว่าองค์ประกอบเฉื่อยงาน(Passive Component)

กำลังไฟฟ้า กำลังไฟฟ้ามีค่าเป็นลบหมายถึงองค์ประกอบจ่ายกำลังไฟฟ้าออกมา โดยองค์ประกอบที่จ่ายกำลังไฟฟ้าออกมา เรียกว่าองค์ประกอบไวงาน(Active Component)

การคำนวณค่าใช้พลังงานไฟฟ้า โดยค่าใช้ไฟฟ้าสามารถคำนวณได้จากสมการ

การวัดปริมาณทางไฟฟ้า - มิเตอร์แบบพาเนล

การวัดปริมาณทางไฟฟ้า - มัลติมิเตอร์(VOM)

การวัดปริมาณทางไฟฟ้า - มัลติมิเตอร์(VOM)

การใช้งานมัลติมิเตอร์ 1. การวัดค่าความต้านทาน

การใช้งานมัลติมิเตอร์ 1. การวัดค่าความต้านทาน ปลดแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกจากวงจร เลือกย่านวัดโอห์ม ปรับค่าความต้านทานศูนย์ โดยใช้ปลายทั้งสองของสาย วัดแตะสัมผัสกัน นำสายวัดค่าความต้านทานของอุปกรณ์ที่ต้องการ

การใช้งานมัลติมิเตอร์ 2. การวัดค่าแรงดันไฟฟ้า

การใช้งานมัลติมิเตอร์ 2. การวัดค่าแรงดันไฟฟ้า เลือกย่านวัดแรงดันไฟฟ้า และเลือกให้ถูกต้องว่าวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงหรือกระแสสลับ ย่านวัดที่เลือกไว้ต้องสูงกว่าค่าสูงสุดของแหล่งจ่ายไฟฟ้า เสมอ นำสายวัดไปวัดโดยต่อขนานกับอุปกรณ์ที่ต้องการวัด นิยมใช้สายสีดำต่อกับจุด Com และสายสีแดงต่อกับขั้ว V เสมอ

การใช้งานมัลติมิเตอร์ 3. การวัดค่ากระแสไฟฟ้า

การใช้งานมัลติมิเตอร์ 3. การวัดค่ากระแสไฟฟ้า เลือกว่าวัดไฟฟ้ากระแสตรงหรือกระแสสลับ เลือกย่านวัดกระแสโดยเลือกย่านสูงที่สุด นิยมใช้สายสีดำต่อกับจุด Com และสายสีแดงต่อกับขั้ว V เสมอ ต่อสายสีแดงเข้ากับวงจรไฟฟ้า โดยต่อเข้ากับจุดที่ กระแสไหลเข้ามิเตอร์ และให้กระแสไหลออกที่สายสีดำ

การใช้งานมัลติมิเตอร์ 3. การวัดค่ากระแสไฟฟ้า