ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Conductors, dielectrics and capacitance
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
ดำเนินงานโดย สำนักฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรบุคคล กับภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
“ โครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้น ” เรื่อง รู้จักโปรแกรม OrCAD Capture PSPICE กับการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าสำหรับ อาจารย์ในระดับอาชีวศึกษา 14 ตุลาคม 2554 เวลา.
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
8. ไฟฟ้า.
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
กระแส และ วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
กระแสไฟฟ้า Electric Current
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
Electric force and Electric field
งานและพลังงาน (Work and Energy).
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
หม้อแปลง.
การแปรผันตรง (Direct variation)
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
บล็อกไดอะแกรมภาคจ่ายไฟ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
ผศ.กสิณ ประกอบไวทยกิจ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
ความปลอดภัยในการทำงาน
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5 ชิ้น สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
วิทยาศาสตร์ Next.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
Module 1 บทนำ วัตถุประสงค์
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

วัตถุประสงค์ เข้าใจการไหลของกระแสอิเล็กตรอน และกระแสไฟฟ้า เข้าใจความสัมพันธ์ของกระแส ประจุไฟฟ้าและ เวลา เข้าใจความสัมพันธ์ของแรงดัน ประจุไฟฟ้าและ เวลา

วัตถุประสงค์ เข้าใจหลักการการกำเนิดแรงดันไฟฟ้า เข้าใจความสัมพันธ์ของแรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และค่าความต้านทาน สามารถคำนวณค่าความต้านทานของวัตถุได้ เข้าใจวิธีการแปลงหน่วยของปริมาณทางไฟฟ้า

หน่วยของประจุไฟฟ้า ประจุไฟฟ้า(Charge, Q) มีหน่วยเป็น คูลอมบ์(Coulomb, C) ประจุไฟฟ้า 1 คูลอมบ์มี 6.25 x 1018 อิเล็กตรอน 1 อิเล็กตรอน = 1.602 x 10-19 C

กระแสไฟฟ้าและการไหลของกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า หมายถึง การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน อิสระไปในทิศทางเดียวกัน ต่อระยะ เวลาที่กำหนด (I)

กระแสไฟฟ้าและการไหลของกระแสไฟฟ้า - การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระไปในทิศทาง เดียวกันจากขั้วลบไปยังขั้วบวกคือการไหลของกระแสไฟฟ้า

กระแสไฟฟ้าและการไหลของกระแสไฟฟ้า

หน่วยของกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ หมายถึง ประจุไฟฟ้า 1 คูลอมบ์ เคลื่อนที่ผ่านจุด ๆ หนึ่งภายในระยะเวลา 1 วินาที

แรงดันไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า หมายถึง พลังงานที่ผลักดันให้ กระแสไฟฟ้าไหลในวงจรไฟฟ้าได้ ความต่างศักย์ไฟฟ้า หมายถึงความแตกต่างระหว่าง แรงดันไฟฟ้าที่จุด 2 จุดใน วงจรไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำกว่าเสมอ

แรงดันไฟฟ้า

แรงดันไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า 1 โวลต์ หมายถึง แรงดันไฟฟ้าที่ทำให้ ประจุไฟฟ้า 1 คูลอมบ์ เกิดพลังงาน 1 จูล

ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า หมายถึง ตัวสร้างให้เกิดแรงดันไฟฟ้าหรือแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าโดยอาศัยหลักการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า - หลักการทางเคมี

ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า - หลักการทางความร้อน

ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า - พลังงานแสงอาทิตย์

ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า - กระบวนการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ (กฟผ.)

ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า - หลักการของสนามแม่เหล็ก ทิศทาง ความหนาแน่น

ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า - หลักการของสนามแม่เหล็ก ความเร็ว เครื่องกำเนิดไฟฟ้า

ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า - หลักการแรงกด

ตัวต้านทานและค่าความต้านทาน ตัวต้านทาน หมายถึง สิ่งที่ขัดขวางหรือต่อต้านการไหลของกระแสไฟฟ้า ตัวนำไฟฟ้าจะมีค่าความต้านทานน้อย ทำให้กระแสไหลผ่านได้ดี แต่ฉนวนจะมีค่าความต้านทานมาก ทำให้กระแสไม่สามารถไหลผ่านฉนวนได้

ตัวต้านทานและค่าความต้านทาน ค่าความต้านทาน (R) จะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 3 อย่างด้วยกัน ค่าพิกัดความต้านทาน() ค่าความยาวของวัตถุ (l) ค่าพื้นที่หน้าตัดของวัตถุ (a)

ตัวต้านทานและค่าความต้านทาน ค่าพิกัดความต้านทาน(Resistivity, [-m])

ตัวต้านทานและค่าความต้านทาน - ค่าความยาวและพื้นที่หน้าตัดของวัตถุ

กำลังไฟฟ้า กำลังไฟฟ้า หมายถึง การทำงาน(W) อย่างใดอย่าง หนึ่งได้ตามเวลาที่กำหนด(t) ซึ่ง สามารถเขียนเป็นสมการได้เป็น

กำลังของฐาน 10

หน่วยมาตรฐาน SI