ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE) ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วัตถุประสงค์ เข้าใจการไหลของกระแสอิเล็กตรอน และกระแสไฟฟ้า เข้าใจความสัมพันธ์ของกระแส ประจุไฟฟ้าและ เวลา เข้าใจความสัมพันธ์ของแรงดัน ประจุไฟฟ้าและ เวลา
วัตถุประสงค์ เข้าใจหลักการการกำเนิดแรงดันไฟฟ้า เข้าใจความสัมพันธ์ของแรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และค่าความต้านทาน สามารถคำนวณค่าความต้านทานของวัตถุได้ เข้าใจวิธีการแปลงหน่วยของปริมาณทางไฟฟ้า
หน่วยของประจุไฟฟ้า ประจุไฟฟ้า(Charge, Q) มีหน่วยเป็น คูลอมบ์(Coulomb, C) ประจุไฟฟ้า 1 คูลอมบ์มี 6.25 x 1018 อิเล็กตรอน 1 อิเล็กตรอน = 1.602 x 10-19 C
กระแสไฟฟ้าและการไหลของกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า หมายถึง การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน อิสระไปในทิศทางเดียวกัน ต่อระยะ เวลาที่กำหนด (I)
กระแสไฟฟ้าและการไหลของกระแสไฟฟ้า - การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระไปในทิศทาง เดียวกันจากขั้วลบไปยังขั้วบวกคือการไหลของกระแสไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าและการไหลของกระแสไฟฟ้า
หน่วยของกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ หมายถึง ประจุไฟฟ้า 1 คูลอมบ์ เคลื่อนที่ผ่านจุด ๆ หนึ่งภายในระยะเวลา 1 วินาที
แรงดันไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า หมายถึง พลังงานที่ผลักดันให้ กระแสไฟฟ้าไหลในวงจรไฟฟ้าได้ ความต่างศักย์ไฟฟ้า หมายถึงความแตกต่างระหว่าง แรงดันไฟฟ้าที่จุด 2 จุดใน วงจรไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำกว่าเสมอ
แรงดันไฟฟ้า
แรงดันไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า 1 โวลต์ หมายถึง แรงดันไฟฟ้าที่ทำให้ ประจุไฟฟ้า 1 คูลอมบ์ เกิดพลังงาน 1 จูล
ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า หมายถึง ตัวสร้างให้เกิดแรงดันไฟฟ้าหรือแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าโดยอาศัยหลักการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า - หลักการทางเคมี
ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า - หลักการทางความร้อน
ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า - พลังงานแสงอาทิตย์
ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า - กระบวนการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ (กฟผ.)
ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า - หลักการของสนามแม่เหล็ก ทิศทาง ความหนาแน่น
ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า - หลักการของสนามแม่เหล็ก ความเร็ว เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
ตัวกำเนิดแรงดันไฟฟ้า - หลักการแรงกด
ตัวต้านทานและค่าความต้านทาน ตัวต้านทาน หมายถึง สิ่งที่ขัดขวางหรือต่อต้านการไหลของกระแสไฟฟ้า ตัวนำไฟฟ้าจะมีค่าความต้านทานน้อย ทำให้กระแสไหลผ่านได้ดี แต่ฉนวนจะมีค่าความต้านทานมาก ทำให้กระแสไม่สามารถไหลผ่านฉนวนได้
ตัวต้านทานและค่าความต้านทาน ค่าความต้านทาน (R) จะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 3 อย่างด้วยกัน ค่าพิกัดความต้านทาน() ค่าความยาวของวัตถุ (l) ค่าพื้นที่หน้าตัดของวัตถุ (a)
ตัวต้านทานและค่าความต้านทาน ค่าพิกัดความต้านทาน(Resistivity, [-m])
ตัวต้านทานและค่าความต้านทาน - ค่าความยาวและพื้นที่หน้าตัดของวัตถุ
กำลังไฟฟ้า กำลังไฟฟ้า หมายถึง การทำงาน(W) อย่างใดอย่าง หนึ่งได้ตามเวลาที่กำหนด(t) ซึ่ง สามารถเขียนเป็นสมการได้เป็น
กำลังของฐาน 10
หน่วยมาตรฐาน SI