กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management (KM)
Advertisements

โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
ระบบสารสนเทศ.
การจัดการองค์ความรู้ และประสบการณ์คณะแพทยศาสตร์
Technology Application
1. นางสาวฉันทนา คงแก้ว เลขที่ 9
KM = Knowledge Management
กระบวนการ KM มี 7 ขั้นตอน
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
พิธีเปิด การจัดกิจกรรม KM DAY ของ อล. ทร
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
KM AAR.
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
Knowledge Management (KM)
Learning Organization
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การศึกษาการจัดการความรู้ของบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ จำกัด (มหาชน)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
Workshop การจัดการความรู้
(Knowledge Management : KM)
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Communities of Practice (CoP)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การจัดการความรู้ KMUTNB
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การจัดการความรู้ทางการแพทย์ ในโรงพยาบาลราชวิถี
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
กลุ่มที่ 6 ที่ปรึกษา: คุณปิย์วรา ตั้งน้อย ประธาน: คุณธวัลรัตน์ แดงหาญ
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
อาจารย์ ดร.ฐิติพร ชมภูคำ กรรมการและเลขานุการหลักสูตร MBA
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
KMS Knowledge Management System
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
Theory in Knowledge Management (KM 701)
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การจัดการความรู้ “ การพัฒนาคุณภาพงานสหกิจศึกษา ” การบ่งชี้ความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ มีอยู่และ ถูกจัดเก็บไว้แล้ว มีอยู่แต่ยังไม่ถูก จัดเก็บอย่างเป็นระบบ.
Learning Organization & Knowledge Management
สวัสดีค่ะ อาจารย์ จิติณัฐ และเพื่อนๆทุกคน.
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
( ร่าง ) แนวคิดในการจัดทำแผนกลยุทธ์ด้านการ จัดการความรู้ (19 ส. ค. 57) กลยุทธ์ในการดำเนินงาน (TIPA) 2.Innovate KM Tools : สร้างนวัตกรรมเพื่ออำนวยความสะดวก.
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ 1
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
แหล่งเรียนรู้และ เครือข่ายการเรียนรู้ Sumai Binbai Phranakhon Rajabhat University Sumai Binbai Phranakhon Rajabhat University.
KM Refreshing Course การจัดการความรู้ กรมชลประทาน.
การจัดการองค์ความรู้
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) ในการจัดการความรู้
การกลั่นกรององค์ความรู้ สำนักพัฒนาแหล่งน้ำขนาดใหญ่
Why’s KM ?.
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  Knowledge Management Tools   วัตถุประสงค์ (เมื่อศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรียนแล้ว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗ กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗

การ จัดการความรู้ในองค์กร 1 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) 7. การเรียนรู้ (Learning) 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 4. การประมวลและ กลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization)

กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 2 เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ(Knowledge Organization) 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ 7. การเรียนรู้ (Learning)

กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 3 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) - การบ่งชี้ความรู้ที่องค์กรจำเป็นต้องมี - วิเคราะห์รูปแบบและแหล่งความรู้ที่มีอยู่ เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) - สร้างและแสวงหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ที่กระจัดกระจายทั้งภายใน/ภายนอก เพื่อจัดทำเนื้อหาให้ตรงกับความต้องการ

กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 4 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) แบ่งชนิดและประเภทของความรู้ เพื่อจัดทำระบบให้ง่ายและสะดวกต่อการค้นหาและใช้งาน จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) จัดทำรูปแบบและ “ภาษา” ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วทั้งองค์กร เรียบเรียงปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยและตรงกับความต้องการ จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร

กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 5 เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) ความสามารถในการเข้าถึงความรู้ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ในเวลาที่ต้องการ

กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 6 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) การจัดทำเอกสาร การจัดทำฐานความรู้ ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System) การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation) มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ 7. การเรียนรู้ (Learning) นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ แก้ปัญหาและปรับปรุงองค์กร

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับประเภทของความรู้ 7 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับประเภทของความรู้ ประเภทของความรู้ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) การจัดเก็บความรู้และวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศในรูปของเอกสาร การใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง (Story Telling) ฐานความรู้ (Knowledge Bases) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) การจัดตั้งทีมข้ามสายงาน (Cross-functional team) ชุมชนนักปฏิบัติ (Communities of Practice : CoP) เวทีสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Forum)