วันลอยกระทง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสนพิธี.
Advertisements

ความสุขเปรียบเหมือนผีเสื้อ
วงจรการประยุกต์ความรู้
ไหว้พระเก้าวัด โดย นางวัฒนา ศรีประเสริฐ อาจารย์ 2 ระดับ 7.
ตำนานเมืองฟ้าแดด เนื้อเรื่อง
เทศกาลลอยกระทง ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี หรืออยู่ในราวเดือนพฤศจิกายนค่ะ ถือว่าเป็นประเพณีเก่าแก่ของไทยที่มีตั้งแต่ครั้งสมัยสุโขทัยเชียวนะคะ.
ศาสนพิธี และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
สื่อประกอบการเรียนรู้
เตรียมตัวผู้แทนชาว ไทย เข้าสู่ “AMC เชียงใหม่ ” “ บอกเล่าเรื่องพระ เยซูเจ้า ให้ชาวเอเชีย ” ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว เชียงใหม่ ตุลาคม 2006.
สื่อประกอบการเรียนรู้
ASEAN : Laos น.ส. ปรัฐษฎา บุญมา รหัส หมู่ 30 คณะ อก.
เรียบเรียงโดย อ.พลอยชนก ปทุมานนท์
หน้าหลัก สมาชิก ประวัติความเป็นมา วัตถุประสงค์ กิจกรรมเด่น
ด.ช. กิตติธัช แก้วนิลกุล
เรื่อง จังหวัดสระบุรี เด็กชายอลังการ ตลุ่มทอง เลขที่ 18
เรื่อง การปลูกต้นไม้มงคลเสริมดวง จัดทำโดย น.ส. สุริยฉาย วระบุตร
จังหวัดราชบุรี เมืองสุดชายแดนตะวันตก
วิถีคุณธรรมนำความรู้
นางสาว โศจิรัตน์ หลงอุย เลขประจำตัว คณะศึกษาศาสตร์
ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันเกิดจากการพัฒนา การปรับตัว ปรับวิถีชีวิตของคนในภาคใต้ที่ประกอบด้วยคนไทยและอีกหลายชาติพันธุ์ที่อยู่ร่วมกันในคาบสมุทรมีคนมาเลย์
ศาสนา.
วันลอยกระทง โดย ด.ญธัญผกา อุตสานนท์ ด.ญ.ธารารัตน์ ทั่งดี
แหล่งท่องเที่ยวในสุพรรณบุรี
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
The designs inspired by Phra Maha Chedi of King Rama I-IV at Wat Phra Chetuphon Vimolmangklararm Rajwaramahaviharn Mr. Taechit Cheuypoung.
เรื่องประวัติตรุษจีน
 ในอดีต วันขึ้นปีใหม่ของไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงมาแล้ว 4 ครั้งคือ ครั้ง แรกถือเอาวันแรม 1 ค่ำ เดือนอ้าย เป็น วันขึ้นปีใหม่ซึ่ง ตรงกับเดือนมกราคม ครั้งที่
แล้ว...ถังรั่วใบใหญ่ให้อะไรกับเรา
จังหวัดราชบุรี จัดทำโดย
จดหมายข่าวบ้านทักษิณยะลา
บทที่ 10 มรรยาทไทย 第十单元礼貌、礼节
รายงานเรื่อง วันลอยกระทง จัดทำโดย นันทวัฒน์ แสนสุริงวงค์ เสนอ
ประเพณีชักพระ.
โดย พันจ่าตรี เมธี ดำรงศักดิ์
สถานที่ท่องเที่ยว ติดบางแสนของจังหวัดชลบุรี
แหล่งท่องเที่ยวไทย ในดวงใจ
วันอาสาฬหบูชา.
จังหวัดชลบุรี.
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดภูเก็ต
เกาะลอย ศรีราชา สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดชลบุรี อำเภอศรีราชา
ท่องเที่ยวในบางแสน.
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา ปี 2552 ตรงกับวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2552.
ศาสนพิธี สำหรับชาวพุทธ.
แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร
รวบรวมข้อมูลมาจาก วิกิพีเดีย
พิธีเปิดอาคาร อาคารสถานที่ทำงานของหน่วยราชการหรืออาคารที่พักอาศัยของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในหน่วย นับว่ามีความสำคัญในด้านขวัญเป็นอย่างมากต่อผู้ปฏิบัติงานหรือผู้อยู่อาศัย.
จัดทำโดย: น.ส.กนกวรรณ มาลา
ด.ญ.กมลชนก เนตรสว่าง เลขที่17 ด.ญณัฐนันท์ แย้มมณีชัย เลขที่ 19
จัดทำโดย : จันทรัช พลตะขบ : นพรัตน์ พลตะขบ สอนโดย : ครูพนิดา กำลา
แหล่งท่องเที่ยวไทย.
ภูมิปัญญาทางภาษา ของท้องถิ่น
รำวงมาตรฐาน.
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
ประเพณีสงกรานต์.
จัดทำโดย นายธีรภัทร บัวเนียม เสนอต่อ อาจาร์ยสมคิด มีมะจำ
วันแม่แห่งชาติ. แต่เดิมนั้น วันแม่แห่งชาติได้กำหนดเอาไว้เมื่อ วันที่ 15 เมษายน ของทุก ๆ ปี ซึ่งเป็นมติของคณะรัฐมนตรีประกาศรับรอง เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์
                                                                                       
ด. ช. หัตถชัย พืชสุวรรณ ป 4/2 เลขที่ 14. ตรุษจีน เป็นเทศกาลที่สำคัญที่สุดของจีน เพราะชาวจีนถือ ว่า วันตรุษจีน คือวันขึ้นปีใหม่ตามปฎิทินจีน เช่นเดียวกับ.
ประเพณี ลอย กระทง.
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
จัดทำโดย ด. ช. ณัฐธัญ สร้างนา โรงเรียนบ้านนาหนองทุ่ม อ. แก้งคร้อ จ. ชัยภูมิ
ครูธีระพล เข่งวา 1 ครูผู้สอน …… นายธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
หน้าหลัก สมาชิก ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีของภาคกลาง
ประวัติวันตรุษจีน ด.ช. พลพล สาลีทอง ป.4/2 เลขที่.2
เจอกันอีกครั้ง ฉบับนี้เป็นฉบับที่ 2 แล้ว อย่าเพิ่ง เบื่อกันนะคะ ก็บอกแล้วไงมีอะไรติติงกันได้ KM TEAM ยินดีน้อมรับคำแนะนำ ข้อติชม ข้อเสนอแนะ เสมอค่ะ และความรู้เล่าสู่กันฟัง.
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันลอยกระทง

ความเชื่อของวันลอยกระทง วันลอยกระทงของภาพเหนือ เมนู ประวัติวันลอยกระทง การกำหนดวันลอยกระทง ความเชื่อของวันลอยกระทง วันลอยกระทงของภาพเหนือ กิจกรรมวันลอยกระทง เพลงวันลอยกระทง ภาพวันลอยกระทง

ประวัติวันลอยกระทง

ประวัติวันลอยกระทง   ในสมัยก่อนนั้นพิธีลอยกระทงจะเป็นการลอยโคม โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสันนิษฐานว่า พิธีลอยกระทงเป็นพิธีของพราหมณ์ จัดขึ้นเพื่อบูชาเทพเจ้า 3 องค์ คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาได้นำพระพุทธศาสนาเข้าไปเกี่ยวข้อง จึงให้มีการชักโคม เพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และลอยโคมเพื่อบูชารอยพระบาทของพระพุทธเจ้า

การกำหนดวันลอยกระทง

การกำหนดวันลอยกระทง วันลอยกระทงของทุกปีจะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย หรือถ้าเป็นปฏิทินจันทรคติล้านนาจะตรงกับเดือนยี่ และหากเป็นปฏิทินสุริยคติจะราวเดือนพฤศจิกายน ซึ่งเดือน 12 นี้เป็นช่วงต้นฤดูหนาว อากาศจึงเย็นสบาย และอยู่ในช่วงฤดูน้ำหลาก มีน้ำขึ้นเต็มฝั่ง ทำให้เห็นสายน้ำอย่างชัดเจน อีกทั้งวันขึ้น 15 ค่ำ เป็นวันที่พระจันทร์เต็มดวง ทำให้สามารถเห็นแม่น้ำที่มีแสงจันทร์ส่องกระทบลงมา เป็นภาพที่ดูงดงามเหมาะแก่การชมเป็นอย่างยิ่ง

เหตุผลและความเชื่อของการลอยกระทง

เหตุผลและความเชื่อของการลอยกระทง 1.เพื่อแสดงความสำนึกถึงบุญคุณของแม่น้ำที่ให้เราได้อาศัยน้ำกิน น้ำใช้ ตลอดจนเป็นการขอขมาต่อพระแม่คงคา ที่ได้ทิ้งสิ่งปฏิกูลต่าง ๆ ลงไปในน้ำ อันเป็นสาเหตุให้แหล่งน้ำไม่สะอาด 2.เพื่อ เป็นการสักการะรอยพระพุทธบาทนัมมทานที เมื่อคราวที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปแสดงธรรมโปรดในนาคพิภพ และได้ทรงประทับรอยพระบาทไว้บนหาดทรายแม่น้ำนัมมทานที ซึ่งเป็นแม่น้ำสายหนึ่งอยู่ในแคว้นทักขิณาบถของประเทศอินเดีย ปัจจุบันเรียกว่าแม่น้ำเนร

    3.เพื่อ เป็นการสะเดาะเคราะห์ เพราะการลอยกระทงเปรียบเหมือนการลอยความทุกข์ ความโศกเศร้า โรคภัยไข้เจ็บ และสิ่งไม่ดีต่าง ๆ ให้ลอยตามแม่น้ำไปกับกระทง คล้ายกับพิธีลอยบาปของพราหมณ์ 4.เพื่อเป็นการบูชาพระอุปคุต ที่ชาวไทยภาคเหนือให้ความเคารพ ซึ่งบำเพ็ญเพียรบริกรรมคาถาอยู่ในท้องทะเลลึกหรือสะดือทะเล โดยมีตำนานเล่า ว่าพระอุปคุตเป็นพระมหาเถระรูปหนึ่งที่มีอิทธิฤทธิ์มาก สามารถปราบพญามารได้ 

5.เพื่อรักษาขนบธรรมเนียมของไทยไว้มิให้สูญหายไปตามกาลเวลา และยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ 6.เพื่อความบันเทิงเริงใจ เนื่องจากการลอยกระทงเป็นการนัดพบปะสังสรรค์กันในหมู่ผู้ไปร่วมงาน 7.เพื่อ ส่งเสริมงานฝีมือและความคิดสร้างสรรค์ เพราะเมื่อมีเทศกาลลอยกระทง มักจะมีการประกวดกระทงแข่งกัน ทำให้ผู้เข้าร่วมได้เกิดความคิดแปลกใหม่ และยังรักษาภูมิปัญหาพื้นบ้านไว้อีกด้วย .

ประเพณีลอยกระทงของภาคเหนือ

ประเพณีลอยกระทงของภาคเหนือ ภาคเหนือ (ตอนบน) จะเรียกประเพณีลอยกระทงว่า "ยี่เป็ง" อันหมายถึงการทำบุญในวันเพ็ญเดือนยี่  (เดือนยี่ถ้านับตามล้านนาจะตรงกับเดือนสิบสองในแบบไทย) โดยชาวเหนือจะนิยมประดิษฐ์โคมลอย หรือที่เรียกว่า "ว่าวฮม" หรือ "ว่าวควัน" โดยการใช้ผ้าบางๆ แล้วสุมควันข้างใต้ ให้โคมลอยขึ้นไปในอากาศ เพื่อเป็นการบูชาพระอุปคุตต์ ซึ่งเชื่อกันว่าท่านบำเพ็ญบริกรรมคาถาอยู่ในท้องทะเลลึก หรือสะดือทะเล ตรงกับคติของชาวพม่า

กิจกรรมในวันลอยกระทง

ในปัจจุบันมีการจัดงานลอยกระทงทุก ๆ จังหวัด ซึ่งจะมีกิจกรรมแตกต่างกันไปในแต่ละสถานที่ แต่กิจกรรมที่มีเหมือน ๆ กันก็คือ การ ประดิษฐ์กระทง โดยนำวัสดุต่าง ๆ ทั้งหยวกกล้วย ใบตอง หรือจะเป็นกาบพลับพลึง เปลือกมะพร้าว ฯลฯ มาประดับตกแต่งด้วยดอกไม้ ธูป เทียน เครื่องสักการบูชา ให้เป็นกระทงที่สวยงาม

เพลงประจำวันลอยกระทง

วันเพ็ญเดือนสิบสอง น้ำนองเต็มตลิ่ง            เราทั้งหลายชายหญิง            สนุกกันจริง วันลอยกระทง            ลอย ลอยกระทง ลอย ลอยกระทง            ลอยกระทงกันแล้ว            ขอเชิญน้องแก้วออกมารำวง            รำวงวันลอยกระทง รำวงวันลอยกระทง            บุญจะส่งให้เราสุขใจ บุญจะส่งให้เราสุขใจ 

ภาพวันลอยกระทง

ด.ญ. ธัญชนก คมปรียารัตน์ คุณครู จันทรรัตน์ เลิศทอง จัดทำโดย ด.ญ. พรรณปพร คำมาเร็ว ด.ญ. ธัญชนก คมปรียารัตน์ คุณครูที่ปรึกษา คุณครู จันทรรัตน์ เลิศทอง

จบแล้วสวัสดีค่ะ กลับเมนูหลัก