ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Computer Language.
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Introduction to C Introduction to C.
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
Introduction to C Programming
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
ปฎิบัติการที่ ห้า.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Structure Programming
Structure Programming
ตัวอย่าง Flowchart.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
องค์ประกอบของโปรแกรม
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
Lecture no. 2: Overview of C Programming
Lecture no. 3: Review and Exercises
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
C Programming Lecture no. 6: Function.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Chapter 5 คำสั่งควบคุมการทำซ้ำ
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ตัวดำเนินการในภาษาซี
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
Overview of C Programming
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้าง ภาษาซี.
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม C-Programming 2013 ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม C Programming ---- ซอร์สโค้ด กระบวนการแปลโปรแกรม โปรแกรมที่สามารพทำงานได้ โดยไม่ต้องมี source code

บทที่ 2 โครงสร้างภาษา ซี C-Programming 2013 บทที่ 2 โครงสร้างภาษา ซี ประกอบด้วย Preprocessor Type declarations Statement Comment Function C Programming

โครงสร้างเบื้องต้นของภาษา C #include <stdio.h> //ส่วนนี้เรียกว่า Preprocesser //เป็นส่วนที่คอมไพเลอร์จะจัดการก่อนที่จะเข้ากระบวนการคอมไพล์โปรแกรม //มักจะขึ้นต้นด้วย.. (#) #include ,#define ฯลฯ //ส่วนของการประกาศตัวแปร แบบ Global ซึ่งอาจจะไม่มีการประกาศตัวแปรหากยังไม่มีการใช้งาน main() { // เป็นฟังก์ชั่นเริ่มต้นในการเขียนโปรแกรมภาษา ซี ที่ซึ่งจะเริ่มต้นทำงาน และ ปีกกา เปิด ปิด หมายถึง // การเริ่มต้น และ จบ ฟังก์ชั่น { เริ่มฟังก์ชั่น } จบฟังก์ชั่น }

คำสั่งของPreprocessor มี : #include #define if #program #endif #error #ifndef #undef #elif #else #ifdef

ถามก่อน #include<stdio.h> Void main() { printf(“== Welcome == \n\n”); printf(“Alert\a\n”); } ในโปรแกรม Dev C++ #include คืออะไร และเป็นสีอะไร Main คืออะไร และเป็นสีอะไร Printf คืออะไร และเป็นสีอะไร

2.1 รหัสควบคุมในภาษา C 2013 C-Programming \a ส่งเสียง Beep \t แท็บในแนวนอน \v แท็บในแนวตั้ง \f ขึ้นหน้าใหม่ \r รหัส Return

2.2 ใส่คำอธิบาย(comment)ลงในโปรแกรม C-Programming 2013 2.2 ใส่คำอธิบาย(comment)ลงในโปรแกรม C Programming // สำหรับ 1 บรรทัด /*..*/ สำหรับ 1 หรือมากกกว่า1 บรรทัด เช่น /* Program by Sasalak Thongkhao sasalak@riska.ac.th */ //include stdio.h for printf command #include<stdio.h> คอมเมนท์ ในDev C++ เป็นสีอะไร

C-Programming 2013 2.3 การคำนวณในภาษาซี เครื่องหมายหรือโอเปอเรเตอร์(Operator) มีดังนี้ + เครื่องหมายบวก(Addition) - เครื่องหมายลบ(Subtraction) * เครื่องหมายคูณ(Multiplication) / เครื่องหมายหาร(Division) % เครื่องหมายหารแบบเอาเศษเป็นคำตอบ(Mod) C Programming ลำดับการคำนวณนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมายที่อยู่หน้าตัวเลข เช่น -2 (...) วงเล็บ *,/ เครื่องหมายคูณและหาร +,- เครื่องหมายบวกและลบ

2.3 การคำนวณในภาษาซี 2013 C-Programming ตัวอย่าง math1.c #include<stdio.h> void main() { Printf(“%d\n”,250+43); } %d เป็นการกำหนดรูปแบบของผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็มฐานสิบ และแทนที่ลงตรงตำแหน่ง %d 293

จงตอบคำถามต่อไปนี้ 5*3+5 7/12+3*2 12.3+2*2 4/2+3*2 2013 C-Programming

2.4 นิพจน์การคำนวณ 2013 ตัวอย่าง math2.c #include<stdio.h> C-Programming 2013 2.4 นิพจน์การคำนวณ C Programming ตัวอย่าง math2.c #include<stdio.h> void main() { printf(“A = %d\n”,(10-5)*3+(2+10)/4); } A = 18

2.4 การคำนวณทศนิยม 2013 ใช้ %f (f ย่อมาจาก float) C-Programming 2013 2.4 การคำนวณทศนิยม C Programming ใช้ %f (f ย่อมาจาก float) #include<stdio.h> void main() { printf(“Area = %f”,0.43*3*4); } Area = 5.160000

2.4 การคำนวณทศนิยม 2013 C-Programming ตัวอย่าง math4.c #include<stdio.h> void main() { printf(“Average = %f\n”,(65.5+15.4+22.0)/3); } Average = 34.300000

C-Programming 2013 2.5 สรุป C Programming ในการคำนวณนั้น ไม่ว่าจะเป็นเลขจำนวนเต็มหรือเลขทศนิยมก็ตาม เราสามารถใส่นิพจน์ให้กับการคำนวณได้ เช่น การใส่วงเล็บเพื่อให้ลำดับการคำนวณเป็นไปตามที่ต้องการ และถ้าคาดว่าผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณจะออกมาเป็นเลขทศนิยมเราจะต้องแสดงค่าโดยใช้ %f เพื่อให้ได้ค่าที่ถูกต้อง