สถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบ จังหวัดเลย และเพชรบูรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
นพ. พงศธร พอกเพิ่มดี 24 กันยายน 2555
สถานการณ์โรคคอตีบ ประเทศไทย 30 ตุลาคม 2555
โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
ยุทธศาสตร์การควบคุมป้องกัน การระบาดของคอตีบ
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
พื้นที่โครงการ 11 พื้นที่
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุ (กรณีการสอบสวนอหิวาตกโรค)
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
 จากข้อมูลผลการตรวจ NSP ในโคเนื้อของจังหวัดใน พื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 ทั้ง 9 จังหวัด พบผล NSP+ จำนวน 97 ตัวอย่าง คิดเป็น 28.86% ซึ่งแสดงถึง สัตว์ที่เก็บตัวอย่างส่งตรวจ.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
สาขาโรคมะเร็ง.
การดำเนินการควบคุมป้องกันโรคคอตีบ(Diphtheria) อ.ด่านซ้าย
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด Outbreak Response Immunization
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ปฏิทินการประชุม คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบ จังหวัดเลย และเพชรบูรณ์

: รถโรงเรียนเดียวกัน : 24 มิ.ย. – 30 มิ.ย. 55 26 1 ก.ค. – 7 ก.ค. 55 Confirmed Case Carrier 27 25 8 ก.ค. – 14 ก.ค. 55 28 15 ก.ค. – 21 ก.ค. 55 29 22 ก.ค. – 28 ก.ค. 55 30 19 29 ก.ค. – 4 ส.ค. 55 31 5 ส.ค. – 11 ส.ค. 55 32 12 ส.ค. – 18 ส.ค. 55 33 19 ส.ค. – 25 ส.ค. 55 34 26 ส.ค. – 1 ก.ย. 55 20 35 2 ก.ย. – 8 ก.ย. 55 36 9 ก.ย. – 15 ก.ย. 55 37 28 Week 1 23 24 30 Cluster D : โรงเรียนเดียวกัน : 12 11 17 16 15 27 11 14 31 Cluster C : โรงเรียนเดียวกัน : 2 1 4 3 5 6 10 Cluster E : ครอบครัวเดียวกัน : 14 5 7 6 8 9 12 13 7 8 9 26 16 Cluster B : โรงเรียนเดียวกัน : 18 21 13 4 Cluster G : รถโรงเรียนเดียวกัน : 32 10 17 20 18 Cluster F : ครอบครัวเดียวกัน : 19 21 29 Cluster A : ครอบครัวเดียวกัน : 15 22 2 3

52 87

4 confirmed 3 probable 3 Contact and carrier

สค. กย. ตค. 2 ราย (ต. นาซำ ต. หินฮาว)** 1 ตค. 6 4 ** ค้นหาในชุมชนโดยทีม 1 ตค. สค. กย. ตค.

รูปที่ 3 ผู้ป่วยโรคคอตีบ อ. หล่มเก่า จ รูปที่ 3 ผู้ป่วยโรคคอตีบ อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ จำแนกตามตำบล ตั้งแต่ วันที่ 1 สิงหาคม - 17 ตุลาคม 2555

จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่ ผู้ป่วยที่สงสัย/ผู้สัมผัสและ ผู้ป่วยรักษารพ. ผู้ป่วยค้นหาในชุมชน จำนวนพาหะ วันเริ่มป่วยผู้ป่วยรายแรก วันเริ่มป่วยผู้ป่วยรายสุดท้าย จำแนกพื้นที่ เพชรบูรณ์ หล่มเก่า หินฮาว 10 42 1 2-ส.ค.-55 พื้นที่ติดตามต่อเนื่อง   12 58 9-ก.ย.-55 1-ต.ค.-55 วังบาล 13 77 2 29-ส.ค.-55 ศิลา 6 8 31-ส.ค.-55 นาซำ 2,10 122 5 17-ก.ย.-55 หลักด่าน 19-ส.ค.-55 พิษณุโลก ชาติตระการ พื้นที่เสี่ยง 329 3

ลักษณะทางระบาดวิทยาและข้อบ่งชี้ประเด็น การระบาดกระจายวงกว้างขึ้น ตามพื้นที่เดิมไปพื้นที่ใหม่ กลุ่มอายุเปลี่ยนจากวัยทำงาน ผู้ใหญ่ไปสู่เด็กอายุน้อยลง แต่การติดเชื้อพบได้ทุกกลุ่มอายุ ลักษณะการถ่ายทอดโรค propagated pattern, close contact, intimate contacts และ การอยู่ในสถานที่เดียวกันกับผู้ป่วยหรือพาหะ Risk factors: Personal contact with cases or bacterial positive carrier, live in the same house, School outbreak/cluster, share same bus/van, others – unknowns (still many unclear). มีผู้ป่วยหลายรายในชุมชนที่ไม่สามารถระบุปัจจัยเสี่ยงได้ชัดเจน อาจแสดงว่ามีการระบาดในวงกว้างและอาจเกิดมาระยะหนึ่งแล้ว พื้นที่ที่พบผู้ป่วยและ พาหะที่พบเชื้อแล้ว คือพื้นที่การระบาด (indicated epidemic area) ประชากรในพื้นที่น่าจะถือได้ว่าเป็น population at Risk Vulnerable population or at risk อาจมีมาก เพราะความครอบคลุมวัคซีนไม่ชัดเจน หรือน่าจะต่ำ แนวโนม้การระบาด ยังจะเดินหน้าต่อไป และสถานการณ์อาจพบผู้ป่วยต่อเนื่องในพื้นที่เดิมและพื้นที่ใหม่

END

สถานการณ์การระบาดโรคคอตีบ ในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ 17 ณ วันที่ 17 ตุลาคม 2555 จังหวัดเพชรบูรณ์ พบผู้ป่วยรวมทั้งหมด 13 ราย(ผู้ป่วยรักษาในรพ.=5ราย,ค้นหาในชุมชน=8ราย) และพาหะ 3 ราย (ดังตารางที่1) จำแนกเป็นผู้ป่วยยืนยัน จำนวน 12 ราย ผู้ป่วยสงสัย 1 ราย พบผู้ป่วยเพศชาย 7 ราย หญิง 6 ราย ค่ามัธยฐานอายุผู้ป่วย 12 ปี (อายุต่ำสุด 1 ปี 8 เดือน สูงสุด 45 ปี) เมื่อพิจารณา จำแนกตามกลุ่มอายุ พบผู้ป่วยอยู่ในกลุ่มอายุ < 30 ปี ร้อยละ 61.5 (ดังรูปที่ 1) อาการและอาการแสดงพบว่า ผู้ป่วยทุกรายมีอาการคอแดง ร้อยละ 100 รองลงมา ได้แก่ มีอาการเจ็บคอ ร้อยละ 83.3 อาการไข้ ร้อยละ 66.7 แผ่นเยื่อขาวในคอ ร้อยละ 41.7 และ มีอาการไอ ร้อยละ 25 เมื่อพิจารณาอาการตามกลุ่ม กลุ่มอายุ > 30 ปี พบว่าทุกรายมีอาการไข้ เจ็บคอ และคอแดง ส่วนมีแผ่นเยื่อขาวในคอร้อยละ 80 (ดังรูปที่ 2) ผู้ป่วยทั้งหมด อาศัยอยู่ ใน อ.หล่มเก่า จำนวน 4 ตำบล ได้แก่ ต.หินฮาว ต.วังบาล ต.ศิลา และต.นาซำ และ ต.หลักด่าน อ.น้ำหนาว จ.เพชรบูรณ์ (ดังรูปที่ 3) การรณรงค์ฉีดวัคซีน วันที่ 17 ตุลาคม 2555 ทีมอำเภอหล่มเก่า สสจ.เพชรบูรณ์ และสคร.9พิษณุโลก ได้ร่วมกันรณรงค์ฉีดวัคซีนแก่ผู้นำหมู่บ้าน อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาคมเรื่องการฉีดวัคซีนในหมู่บ้านชาวเขาบ้านทับเบิก หมู่ 14,16 ต.วังบาล อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ และจะรณรงค์ฉีดวัคซีนในวันที่ 25 ตุลาคม 2555 จังหวัดพิษณุโลก อ.ชาติตระการ ได้เก็บตัวอย่างผู้ป่วยสงสัยคอตีบ จำนวน 2 ราย และผู้สัมผัส จำนวน 8 ราย ผลการตรวจ ไม่พบเชื้อโรคคอตีบในตัวอย่างทั้งหมด วันที่ 8 ตุลาคม 2555 ผู้รับผิดชอบงานจาก สสจ.พิษณุโลก สคร.9 พิษณุโลก สสอ.นครไทย และชาติตระการ ได้ประชุมร่วมกันพิจารณาพื้นที่เสี่ยงโรคคอตีบ จากการสอบสวนโรค ของ จังหวัดเลย พบว่ามีกลุ่มเด็กนักเรียนราชประชานุเคราะห์ 23 ที่มาจากหลายจังหวัด และกลุ่มชาวเขาทำไร่กะหล่ำปลี ที่ บ้านกกสะทอน และ บ้านทับเบิก พื้นที่เสี่ยง อ.นครไทย ได้แก่ ต.บ่อโพธิ์ (หมู่1) ต.เนินเพิ่ม (หมู่ 10,15,16) ต.นาบัว(หมู่15) และ ต.ห้วยเฮี้ย (หมู่6) รวม 6 หมู่บ้านเป้าหมายที่จะฉีดวัคซีนประมาณ 4079 คน สำหรับ พื้นที่เสี่ยง อ.ชาติตระการ ได้แก่ อ.ชาติตระการ ตำบลบ่อภาค หมู่ 11-13 และหมู่15-16 รวม 5 หมู่บ้าน เป้าหมายที่จะฉีดวัคซีน ประมาณ 3107 คน และได้ดำเนินการเบิกวัคซีนเพื่อดำเนินการฉีด ในวันที่ 17ตุลาคม2555