ไอโอดีนมีอยู่ทุกที่ ดูให้ดี กินให้เป็น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
สกลนครโมเดล.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไอโอดีนมีอยู่ทุกที่ ดูให้ดี กินให้เป็น ชุมชนสร้างสรรค์ หญิงตั้งครรภ์ไม่ขาดไอโอดีน

สถานการณ์การขาดไอโอดีน - เมื่อ พ.ศ. 2551-2552 พบไอคิวเฉลี่ย 91 จุด (ไอคิวเฉลี่ยปกติ 90-110 จุด) อีกทั้งผลการ สำรวจพัฒนาการในเด็กอายุต่ำกว่า 5ปี ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบพัฒนาการสมวัยลดลง ปี 2552 มีพัฒนาการสมวัยร้อยละ72 ปี 2547 ร้อยละ71 และปี 2550 ลดลงเหลือ ร้อยละ67 ระดับฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ในทารกแรกเกิด (แสดงภาวะพร่องสารไอโอดีนในทารกแรกเกิด) พบ ร้อยละ 15.2 (การสำรวจสถานการณ์โรคขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย, 2552) อัตราการคัดกรองภาวะขาดสารไอโอดีนในทารกแรกเกิด TSH >11.2 mq/l อำเภอนาหว้า คิดเป็นร้อยละ 5.38 รับผิดชอบ รนพ.สต.นางัว l จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.37 เมื่อสำรวจร้านค้าที่ใช้เกลือไอโอดีนคุณภาพ เป็นร้อยละ 72.72 1 ใน 3 โรงเรียน ยังมีการใช้เกลือไม่ได้มาตรฐาน การสำรวจการใช้เกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือนสุ่มตรวจ 250 หลังคาเรือน พบ มีการใช้เกลือที่มีคุณภาพ เพียง 78 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 45.34 ซึ่งถือว่าไม่ผ่าน มาตรฐาน ประเทศ ตำบลนางัว

การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน พ.ศ. 2553 - 2555 การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน พ.ศ. 2553 - 2555 เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้า เกลือบริโภค / น้ำปลา / สารปรุงรส เกลืออุตสาหกรรมอาหาร / อาหารสัตว์ คุณภาพโรงงาน / เกลือ ทะเบียน อย. เกลือ ระบบเฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผล ไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ / เด็กเล็ก TSH ทารกแรกเกิด คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน  แหล่งผลิต  ร้านค้า  ครัวเรือน พัฒนาการเด็ก การควบคุมป้องกัน วิจัย และปฏิบัติการ เฝ้าระวัง Sentinel ความสัมพันธ์ไอโอดีน กับพัฒนาการเด็ก มาตรการเสริม คู่มือปฏิบัติงาน จังหวัด / อปท. / อสม. ภาวะขาดสารไอโอดีน คุณภาพชีวิต ทุกกลุ่มวัย การบริหารจัดการ และสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย หน่วยงานรัฐ ภูมิภาค จังหวัด /สสจ. / อสจ. / ปศจ. ฯลฯ องค์กรปกครองท้องถิ่น ชมรมผู้ประกอบการเกลือ ชุมชน / หมู่บ้านไอโอดีน สร้างกระแสสังคม สื่อสารให้ผู้บริหาร สื่อสารความเสี่ยง สื่อสารสาธารณะ ภาคี เครือข่ายสื่อ

แนวทางการดำเนินงาน สถานบริการ อปท. ชุมชน โรงเรียน ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ บริการที่มีคุณภาพ ตรวจคัดกรองทารกแรกเกิด ติดตามรักษา. เสริมเกลือไอโอดีน วิตามินเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ส่งเสริมการได้รับสารไอโอดีน อปท. 1.จัดทำแผนแก้ไขปัญหาไอโอดีนโดยใช้ งบท้องถิ่น 2.สร้างค่านิยม “ การบริโภคไอโอดีน” 3.สนับสนุนการใช้มาตรการ ป้องกันและควบคุมการขาดไอโอดีน 4.รณรงค์ป้องกันการขาดสารไอโอดีน 5.สนับสนุน เกลือไอโอดีน และผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน กลุ่มเป้าหมาย หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ ชุมชน ร่วมกันใช้และส่งเสริมการใช้ไอโอดีนในครัวเรือน โรงเรียน ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ อาหารกลางวันปรุงด้วยเกลือเสริมไอโอดีนและผลิตภัณ์เสริมไอโอดีน

1.เพื่อป้องกันการขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อป้องกันการขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ 2.เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา 3.เพื่อพัฒนาความรู้ นวตกรรม ในการแก้ไขปัญหา ไอโอดีน 4.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มีการจัดการสุขภาพในการ ป้องกันการขาดสารไอโอดีนด้วยตนเอง (self management)

การดำเนินงาน ระยะที่ 1 ประชุมวางแผนร่วมกับภาคีเครือข่าย แสวงหาความรู้

การดำเนินงาน การให้ความรู้โดยเจ้าหน้าที่ ระยะที่ 2 ดำเนินกิจกรรม สถานบริการ การให้ความรู้โดยเจ้าหน้าที่

ไอโอดีนสำคัญอย่างไร ? ช่วยในการพัฒนาระบบประสาทและเซลล์ประสาท โดยเฉพาะ สมองที่ได้รับไอโอดีนอย่างเพียงพอ สมองที่ขาดไอโอดีน ช่วยในการพัฒนาระบบประสาทและเซลล์ประสาท โดยเฉพาะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ ภาวะขาดสารไอโอดีนเพียงเล็กน้อยก็ส่งผลกระทบต่อระดับไอคิว (ทำให้ระดับไอคิวต่ำลง10-15 จุด) ที่มา: ข้อมูลจาก UNICEF

เพราะเรารู้ว่า พื้นที่ขาดไอโอดีน เด็ก IQ ลดลง 13.5 จุด น้อยกว่า 85 เด็กแรกเกิดที่พร่องธัยรอยด์ฮอร์โมน IQ ลดเหลือ 70-80 ทันที

การดำเนินงาน การให้ความรู้โดยเจ้าหน้าที่ ระยะที่ 2 ดำเนินกิจกรรม สถานบริการ การให้ความรู้โดยเจ้าหน้าที่

การดำเนินงาน การให้ความรู้โดยแกนนำภาคีเครือข่าย ระยะที่ 2 ดำเนินกิจกรรม สถานบริการ การให้ความรู้โดยแกนนำภาคีเครือข่าย

อย.น้อย ตรวจร้านอาหารโรงเรียน * มอบเกลือไอโอดีนให้นักเรียน การดำเนินงาน โรงเรียน อย.น้อย ตรวจร้านอาหารโรงเรียน * มอบเกลือไอโอดีนให้นักเรียน

เป็นตัวแทนอำเภอ สู่รางวัลระดับจังหวัด รางวัลชนะเลิศชมรมอาหารปลอดภัยเทศบาลตำบลนาหว้า และรางวัลรองชนะเลิศ ระดับมัธยมศึกษา รร.นางัวราษฎร์รังสรรค์ ปี 2555

การดำเนินงาน เกิดนวตกรรมชุมชน เมนูชุมชน เมนู 4 หมู่ ชูรส ไอโอดีน ระยะที่ 3 การร่วมกันวิเคราะห์ความรู้ เกิดนวตกรรมชุมชน เมนูชุมชน เมนู 4 หมู่ ชูรส ไอโอดีน

เกิดนวตกรรม การจัดการสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ บันทึกรัก แม่จ๋า หนูไม่อยากเป็นโรคเอ๋อ

บันทึกรัก แม่จ๋า หนูไม่อยากเป็นโรคเอ๋อ

บทเรียนที่ได้รับจากการดำเนินงานวตกรรม/ผลงานนวตกรรม การส่งเสริมการใช้ไอโอดีน การให้ความรู้เป็นสิ่งที่สำคัญ จะทำให้เกิดการปรับทัศนคติ พฤติกรรม การทำงานในบริบท ชุมชน การปรับ ลด เป็นไปได้ยาก จะต้องพยายามให้เกิด ทางเลือกสุขภาพมากที่สุด

ปัจจัยสู่ความสำเร็จ การแสวงหาความรู้ ของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ การเรียนเรียนรู้ร่วมกับชุมชนในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน การเห็นศักยภาพของชุมชน

ป้องกันขาดสารไอโอดีนด้วยหลัก 3 ป. ป.1 ดุเป็น เลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหาร ที่มีไอโอดีน ดูฉลากให้ได้มาตรฐาน ป.2 ปรุงเป็น ผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน เมื่อสุก แล้วยกลงแล้วค่อยเติม หลีกเลี่ยงกินร่วมกับผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ถั่วดิบ กะหล่ำดิบ ป. 3 คิดเป็นรู้ว่า ตนเองต้องได้ปริมาณไอโอดีนเท่าไรจึงเพียงพอในแต่ละวัน

นวตกรรม “ปลาร้าสมุนไพรไอโอดีน” ร่วมกับโรงเรียนและอปท. โครงงานคณิตศาสตร์ นักเรียนโรงเรียนชุมชนนางัว นวตกรรม “ปลาร้าสมุนไพรไอโอดีน”

"ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี" คปสอ.นาหว้า "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"