การให้ออกซิเจนที่บ้าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงานคอมพิวเตอร์.
Advertisements

10 บัญญัติ ประหยัดน้ำมัน
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
ห้องน้ำ/ห้องส้วม/ที่ปัสสาวะ
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ผ้าเช็ดหน้าจากสีธรรมชาติ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
หลักสำคัญในการล้างมือ
ข้อปฏิบัติในการใช้ห้องเรียนคอมพิวเตอร์
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
โดย สมาคมการช่วยชีวิตและดับเพลิง FARA
SPRAYER สมรรถ ปัญญาประชุม
การขนส่งผักและผลไม้.
sensION 2 pH/ISE Meter Calibrate and Maintenance
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน
ระบบทำความเย็นและปรับอากาศ
แนะนำวิธีการลดการใช้พลังงาน
การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
เครื่องชั่งตวงวัดที่ใช้ในโครงการรับจำนำข้าว
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
การเลือกซื้อเสื้อผ้าสำเร็จรูป
การประหยัดไฟฟ้า และพลังงาน
ศูนย์เฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
ตรวจพื้นที่ 5ส. ฝั่งคลินิคประกันสังคม
ข้อควรระวังในการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
เตาไฟฟ้า.
เครื่องปั่นน้ำผลไม้.
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
กระทะไฟฟ้า                .
เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า
เครื่องดูดฝุ่น.
เตาไมโครเวฟ.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
ลิฟต์.
เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท Notebook
เครื่องม้วนผม.
ไดร์เป่าผม.
การบริหารยาทางฝอยละออง
อุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะ
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
วิชา งานสีรถยนต์.
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
หน่วยการเรียนที่ 1 ความปลอดภัยทั่วไป.
มาตรการประหยัดพลังงาน
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
ถังเก็บน้ำมันใต้พื้นดินและถังเก็บน้ำมันบนดิน
Junction Box และ การติดเชื้อในระบบน้ำ
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ศุภวัฒน์ อิ่มเจริญ ภม.(การจัดการเภสัชกรรม) 15 กุมภาพันธ์ 2555
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
วิธีการประหยัดพลังงาน
ห้องมืด(Dark Room) ห้องที่ใช้ในการทำงานทาง photoใช้สำหรับ การล้างฟิล์ม และอัดขยายภาพห้องมืดใช้ป้องกันแสงเข้าไป ห้องมืด แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. ห้อง มืดสำหรับล้างฟิล์ม.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การให้ออกซิเจนที่บ้าน ตัวแท็งก์โดยมากมีสีเขียว มี 4 ขนาด จากขนาดเล็กไปใหญ่ ดังนี้ คือ ขนาดจิ๋ว (พกใส่กระเป๋า หิ้วหรือสะพายได้),ขนาดเล็ก(D), ขนาดกลาง(E), และขนาดใหญ่(D) วิธีใช้ 1.ปิดวาวล์ให้แน่นสนิทก่อน 2. ต่อหัวเกจ์เข้ากับท่อออกซิเจนใต้หัววาวล์ โดยใช้กุญแจเลื่อนหมุนจนแน่น

3. ถ้าใช้ออกซิเจนมากกว่า 2 ลิตรต่อนาทีควรต่อ กระป๋องทำความชื้นเข้ากับโฟลมิเตอร์ ดังรูป 4. ต่อสายน้ำแก๊สออกซิเจนเข้ากับโฟลมิเตอร์ หรือกระป๋องน้ำทำความชื้น 5. เปิดวาวล์และหมุนปุ่มโฟลมิเตอร์เพื่อเปิดอัตราไหล ของแก๊สตามที่เด็กต้องการแล้วต่อสายนำแก๊ส ออกซิเจนเข้ากับตัวเด็ก 6. เมื่อไม่ต้องการให้ออกซิเจน ปิดวาวล์และปิดโฟลมิเตอร์ ถอดสายนำแก๊สออกจากตัวเด็ก

การดูแลแท็งก์ออกซิเจนที่บ้าน 1. ไม่ควรรอให้ใช้แก๊สออกซิเจนจนหมดแท็งก์ควรสังเกตจากตัวเลขที่หน้าปัดของ เกจ์ว่าแก๊สลดลงถึงระดับแล้ว ถ้าเกจ์ลดลงถึงระดับ 100 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ควนำไปเติมได้ 2. แท็งก์เล็กที่วางบนรถเข็นและแท็งก์ขนาดจิ๋ว ที่ใส่กระเป๋าหิ้วสะพายได้เหมาะสำหรับใช้ขณะ เดินทาง 3. การนำแท็งก์ติดไปในรถยนต์ ควรวางบนที่นั่ง และคาดเข็มขัดนิรภัยไว้เพื่อป้องกันการ ระเบิดของแท็งก์ ห้ามวางแท็งก์ในที่ร้อน 4. ถ้าหากแท็งก์ชำรุด ควรรีบเปลี่ยนหรือติดต่อบริษัทที่ขายแท็งก์ออกซิเจนควรติด ชื่อบริษัทที่ขายออกซิเจนแขวนไว้กับแท็งก์ออกซิเจน ชื่อบริษัท...................................................................... โทรศัพท์.....................................ที่อยู่............................................. 5. ถ้าต่อกระป๋องน้ำทำความชื้น ควรถอดล้างกระป๋องทุกวันแล้วเช็ดให้แห้งก่อน เติมน้ำต้มสุกที่ กรองแล้ว ให้ถึงขีดที่กำหนด แล้วจึงต่อเข้ากัลโฟลมิเตอร์

ออกซิเจนกับความปลอดภัย ออกซิเจนเป็นแก๊สไวไฟ อาจติดหรือระเบิดได้ ถ้าถูกับเปลวไฟหรือ ความร้อน ดังนั้น จึงควรมีมาตรการการดูแลดังนี้ 1. ห้ามสูบบุหรี่ในห้องที่มีแท็งก์ออกซิเจน ติดป้าย “ห้ามสูบบุหรี่” ในห้องที่ผู้ป่วยอยู่ 2. ไม่ควรตั้งแท็งก์ใกล้เตาไฟ ขณะให้ออกซิเจน ตัวเด็กควรอยู่ห่าง เตาไฟในระยะรัศมี 6-8 ฟุตขึ้นไป