นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

FOOD PYRAMID.
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 5
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์
Chemical Properties of Grain
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
เมนูชูสุขภาพ วิไลลักษณ์ ศรีสุระ นักโภชนาการชำนาญการ
การพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ขององค์กรปกครองท้องถิ่น
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ด.ช.สกลพัตร พันธุ์บุญปลูก ม.2/8 เลขที่10 ปีการศึกษา 2548
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ไขมันอิ่มตัว....ไม่อิ่มตัว
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
whey เวย์ : casein เคซีน
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
กฎหมายเกี่ยวกับการขนส่ง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การใช้จุลินทรีย์โพรไบโอติกในอาหาร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 3 สิงหาคม 2554.
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
นิวทริไลท์ เนเจอรัลมัลติไฟเบอร์
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
ผลไม้ลดความอ้วน.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
กินเท่าไหร่ ถึงจะพอดี
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
การกำจัดขยะโดยใช้หลัก 3R
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การคำนวณภาษีและค่าปรับ สินค้ายาสูบ
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
โรคหัวใจ.
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
Diet for Over Weight นพ.เทอดศักดิ์ เดชคง
การควบคุมกำกับ สถานที่ผลิต อาหาร ประเภท สถาน ประกอบ การ เป้าหม าย ( แห่ ง ) ตรวจ ค้าง ตรวจ ตรวจทั้งหมดผ่าน ไม่ ผ่าน ไม่ พบ / ยกเลิก แห่ง % % GMP
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้ง จากระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6 ฉลากอาหาร ชัญญานุช ปานนิล นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6

ฉลากอาหาร คือ ข้อมูลคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหาร ส่วนที่ 1 หน่วยบริโภค และ จำนวนหน่วยบริโภค ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 1 คุณค่าทางโภชนาการและพลังงาน ช่วงที่ 2 ปริมาณสารอาหาร และร้อยละ ช่วงที่ 3 ปริมาณวิตามินและเกลือแร่ ส่วนที่ 3 สารอาหารต่างๆ ต่อพลังงาน 2000 กิโลแคลอรี่

ส่วนที่ 1

ตัวอย่างส่วนที่ 1 หนึ่งหน่วยบริโภค :1 แท่ง ( 50 กรัม) กินครั้งละ 1 แท่ง ตัวอย่างส่วนที่ 1 ข้อมูลโภชนาการ หนึ่งหน่วยบริโภค :1 แท่ง ( 50 กรัม) จำนวนหน่วยบริโภคต่อ แท่ง : 1

ตัวอย่างส่วนที่ 1 หนึ่งหน่วยบริโภค :1 ห่อ ( 50 กรัม) ข้อมูลโภชนาการ หนึ่งหน่วยบริโภค :1 ห่อ ( 50 กรัม) จำนวนหน่วยบริโภคต่อ ห่อ : 5 ในหนึ่งซองต้องแบ่งรับประทาน 5 ครั้ง

ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 1

ตัวอย่างส่วนที่ 2 ช่วงที่ 1 ตัวอย่างส่วนที่ 2 ช่วงที่ 1 คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่งหน่วยบริโภค พลังงานทั้งหมด 100 กิโลแคลอรี่ (พลังงานจากไขมัน 45 กิโลแคลอรี่ )

ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 2

ตัวอย่าง ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 2 ตัวอย่าง ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 2 ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน* ไขมันทั้งหมด 12 ก. 18 % ไขมันอิ่มตัว 6 ก. 30 % โคเลสเตอรอล 0 มก. 0 % โปรตีน 7 ก. คาร์โบไฮเดรตทั้งหมด 36 ก. 12 % ใยอาหาร 2 ก. 8 % น้ำตาล 2 ก. โซเดียม 1500 มก. 62 %

ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน* ตัวอย่างส่วนที่ 2 ช่วงที่ 2 สารอาหารที่น้อยกว่าร้อยละ5 จัดว่า “ต่ำ” *สารอาหารที่ค่าร้อยละ20 ขึ้นไปจัดว่า ”สูง” ร้อยละของปริมาณที่แนะนำต่อวัน* ไขมันทั้งหมด 12 ก. 18 % ไขมันอิ่มตัว 6 ก. 30 % โคเลสเตอรอล 0 มก. 0 % โปรตีน 7 ก. คาร์โบไฮเดรตทั้งหมด 36 ก. 12 % ใยอาหาร 2 ก. 8 % น้ำตาล 11 ก. โซเดียม 1500 มก. 62 % จำกัด สารอาหาร เหล่านี้ เพราะ ไม่ดีต่อ สุขภาพ ใน 1 วัน ไม่ควรกิน น้ำตาลเกิน 24 กรัม

ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 3

ตัวอย่าง ส่วนที่ 2 ช่วงที่ 3

ส่วนที่ 3

ฉลากอาหาร แบบ GDA

สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA บนฉลากด้านหน้าบรรจุภัณฑ์ โดยแสดงปริมาณ สารอาหารต่อหน่วยบรรจุภัณฑ์ เช่น ซอง ถุง กล่อง

ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข อาหาร 5 ชนิด มันฝรั่งทอดกรอบหรืออบกรอบ 2. ข้าวโพดคั่วหรืออบกรอบ 3. ข้าวเกรียบหรืออาหารขบเคี้ยวชนิดอบพอง 4. ขนมปังกรอบหรือแครกเกอร์หรือบิสกิต 5. เวเฟอร์สอดไส้

ประกาศฉบับนี้ บังคับใช้ ตั้งแต่ วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2554 และให้ใช้ฉลากเดิมที่เหลืออยู่ต่อไปได้ ไม่เกินวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2555

สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA แสดงไว้ด้านหน้าบรรจุภัณฑ์

สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA หน่วยบรรจุภัณฑ์ เช่น กล่อง ซอง ห่อ แสดงจำนวนครั้งที่แนะนำให้กิน ช่วงที่ 1 แสดงข้อความ ช่วงที่ 2 แสดงปริมาณ ช่วงที่ 3 แสดงร้อยละ

สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA * ค่าพลังงานเป็นกิโลแคลอรี * คิดเป็นร้อยละเทียบกับพลังงาน 2,000 กิโลแคลอรี • ปริมาณน้ำตาล ไขมัน เป็นกรัม และโซเดียมเป็นมิลลิกรัม •แสดงร้อยละโดยคิดเป็นร้อยละของปริมาณสูงสุดที่บริโภค ได้ต่อวัน

สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA 60 6 30 0.5 3 9 1 1

สัญลักษณ์ทางโภชนาการแบบ GDA

การคำนวณปริมาณน้ำตาล ใน 1 วัน ไม่ควรบริโภคน้ำตาลเกิน 24 กรัม น้ำตาล 4 กรัม = 1 ช้อนชา น้ำตาล 24 กรัม = 24 = 6 ช้อนชา 4

อาหารที่มีโซเดียม อาหารธรรมชาติ 2. อาหารแปรรูปหรือการถนอมอาหาร 3. เครื่องปรุงรสชนิดต่างๆ 4. ผงชูรส 5. อาหารกระป๋องต่างๆ 6. อาหารกึ่งสำเร็จรูป 7. ขนมต่างๆ ที่มีการเติมผงฟู 8. น้ำและเครื่องดื่ม

การคำนวณปริมาณโซเดียม โซเดียม (กรัม) = มิลลิกรัม (มก.) 400 2,400 = เกลือแกง 6 กรัม 400 เกลือแกง 5 กรัม = 1 ช้อนชา เกลือแกง 1 ช้อนชา มีโซเดียม 2,000 มก. ใน 1 วันควรบริโภคโซเดียม น้อยกว่า 2,400 มก.

การคำนวณปริมาณน้ำมัน ใน 1 วัน ไม่ควรบริโภคน้ำมันเกิน 30 กรัม น้ำมัน 5 กรัม = 1 ช้อนชา น้ำมัน 30 กรัม = 30 = 6 ช้อนชา 5

การคำนวณปริมาณแอลกอฮอล์ ปริมาตร(ซีซี) x เปอร์เซ็นต์แอลกอฮอล์ x 7 100 พลังงาน =……….Kcal. เหล้าขาว 1 ขวดเล็ก ปริมาตร 450 ซีซี(40%) 450 (ซีซี) x 40 x 7 100 พลังงาน = 1260 Kcal. แอลกอฮอล์ 1 กรัม ให้พลังงาน 7 กิโลแคลอรี่

Thank you