การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
Advertisements

ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ว่าด้วยการควบคุมโรงงานทำสุราแช่ชนิดเบียร์ ที่ทำในราชอาณาจักร พ.ศ
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
NAVY WATER BED 2012.
หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย1
เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี (Anionic Polymer)
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
การพัฒนาระบบ การตรวจวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกล คนไทยมีส่วนร่วม
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
สินค้าเครื่องดื่ม เดิม ใหม่
บทนิยาม อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ อาคารสิ่งปลูกสร้าง
โครงการฝึกอบรมหลักสูตร เทคนิคการกำกับดูแลโรงงานสุรา
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 อุบลราชธานี
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
การสำรวจข้อมูลตามโครงการเฝ้าระวัง ภาวะขาดไอโอดีนแบบบูรณาการ ปี 57
การตรวจสถานที่ผลิตอาหารตามเกณฑ์ GMPและการเก็บตัวอย่างส่งตรวจวิเคราะห์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
การตรวจสอบและการพิจารณานำเข้ายา
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดขนาด จำนวน และคุณภาพของเครื่องดับเพลิงสำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ ลักษณะ 4 (รถบรรทุกวัสดุอันตราย) พ.ศ.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญ และการต่ออายุใบสำคัญการขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ พ.ศ.2552.
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4209 (พ. ศ
ความร่วมมือเครือข่ายภาคอีสาน กับคุณภาพนมโรงเรียนปี 2553
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โรคอุจจาระร่วง.
การเก็บตัวอย่างปัสสาวะเพื่อวิเคราะห์ ศูนย์อนามัยที่ 6 ขอนแก่น
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม การแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การทำแผลชนิดแห้ง( Dry dressing )
บริการตรวจวิเคราะห์ สารพิษตกค้าง เพื่อสนับสนุนความมั่นใจให้แก่ เกษตรกรเมื่อดำเนินการผลิตตาม คำแนะนำของเจ้าหน้าที่แล้ว ผลผลิต ที่ได้จะไม่มีสารพิษตกค้าง.
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
มาตรฐานสินค้าเกษตร “ลำไย”
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับร้านอาหาร
อาหารเป็นพิษ จังหวัดเชียงใหม่
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
มาตรการประหยัดพลังงาน
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
การเก็บตัวอย่างอาหาร (สำหรับงานตรวจสอบ) กรณีร้องเรียน, กรณีพิเศษ, กรณีเร่งด่วน จากสถานที่ผลิตอาหาร, จำหน่ายอาหาร, นำเข้า กลุ่มกำกับดูแลหลังออกสู่ตลาด สำนักอาหาร.
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
* นมพาสเจอร์ไรส์ : นมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อน เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคให้อยู่ในระดับที่ ปลอดภัย ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ โดยใช้ความร้อนที่
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
บทที่ 6 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับอาหาร และเครื่องดื่ม
มูลฝอยติดเชื้อและมูลฝอยอันตราย
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4210 (พ. ศ
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 2

เทคนิคการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ

วัตถุประสงค์ในการตรวจวิเคราะห์ เพื่อนำผลวิเคราะห์ไปประกอบการขอขึ้นทะเบียนตำรับอาหาร สำรวจวิจัยข้อมูล 2. เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหาร เครื่องดื่ม และน้ำบริโภค ว่าเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุขหรือมาตรฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อหาสาเหตุด้านระบาดวิทยาอันเนื่องมาจากอาหาร 4. เพื่อให้ประชาชน ได้รับความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร

เชื้อโรคอาหารเป็นพิษ ที่ตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ เชื้อโรคอาหารเป็นพิษ ที่ตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ E.coli Staphylococcus aureus Salmonella spp. Clostridium perfringens Bacillus cereus Vibrio cholerae Vibrio parahaemolyticus

การเก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ

อุปกรณ์และภาชนะที่ใช้สุ่มเก็บตัวอย่าง 1. อุปกรณ์และภาชนะที่ปราศจากเชื้อ 2. อุปกรณ์และภาชนะที่ผู้ประกอบการใช้ 3. อุปกรณ์และภาชนะที่ผ่านการฆ่าเชื้อ ( ต้มหรือจุ่มใน 70%alcohol เผาไฟ ) 4. ใช้ถุงพลาสติกใหม่ ๆพลิกด้านในออก

วิธีการสุ่มและเก็บตัวอย่างอาหาร 1. ให้เก็บตัวอย่างโดยวิธีสุ่ม ( Random Sampling ) ตามจำนวนหน่วย หรือปริมาณตามต้องการ โดยสุ่มเก็บตัวอย่าง ที่ผลิตในรุ่นเดียวกัน หรือ วัน เดือน ปี ที่ผลิตเหมือนกัน เช่น น้ำ 1 ลิตร เก็บ 8 ขวด ต่อ 1 ตัวอย่าง ที่ผลิตวันที่ 1 เม.ย 55

2. ปิดภาชนะให้เรียบร้อยพร้อมติดฉลาก อาหารที่ไม่ใช่ตัวอย่างเดียวกันต้องแยกภาชนะบรรจุ ห้ามปนกัน 3. ฉลากกำกับตัวอย่างอาหาร - ชื่อและนามสกุลของเจ้าของตัวอย่างอาหาร - สถานที่เก็บตัวอย่างอาหาร ( ที่อยู่ ) - ชื่อหรือชนิดตัวอย่างอาหาร - วันที่ เดือน ปี และเวลาที่เก็บตัวอย่าง - ชื่อผู้นำส่งตัวอย่าง * กรณีเกิดโรคอาหารเป็นพิษ ต้องระบุเพิ่ม - ข้อมูลทางระบาดวิทยา - อาการของผู้ป่วยและระยะเวลาการเกิดโรค 4. หมายเลขโทรศัพท์ผู้ส่งตัวอย่าง หรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง

ปริมาณตัวอย่าง กรณีปกติ ปริมาณตัวอย่าง กรณีปกติ ตัวอย่างอาหาร 4 หน่วยบรรจุ x 500 กรัม 2. น้ำบริโภค ประมาณ 1 ถัง หรือ 6 ขวดx 950 มิลลิลิตร 3. น้ำแข็ง 6 ถุง x 1 กิโลกรัม 4. นมพร้อมดื่ม อย่างน้อย 3 – 6 หน่วยบรรจุ 5. Swab ภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ หมายเหตุ ตัวอย่างอาหารชนิดอื่น ๆ ส่งปริมาณตามคู่มือ การให้บริการตรวจวิเคราะห์ ของศูนย์วิทยาศาสตร์การ- แพทย์ที่ 2 อุดรธานี

ปริมาณตัวอย่าง กรณีเกิดการระบาด ของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ ปริมาณตัวอย่าง กรณีเกิดการระบาด ของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ 1. อาหาร อย่างน้อย 200 กรัม 2. น้ำ/น้ำแข็ง ประมาณ 1 – 5 ลิตร 3. นมพร้อมดื่มให้เก็บนมที่เหลือจากการดื่ม หรือให้เก็บนม ที่ผลิตในlot เดียวกัน *หรือเท่าที่เหลืออยู่ที่สามารถเก็บได้ ในกรณีที่ไม่มีตัวอย่าง เหลืออยู่ให้เก็บจากตัวอย่างที่มาจากแหล่งเดียวกัน ใช้ส่วนประกอบหรือมีวิธีการปรุงเหมือนกับอาหารที่ต้องสงสัย

วิธีการเก็บรักษาและการนำส่งตัวอย่างอาหาร 1.ตัวอย่างที่เน่าเสียง่าย เมื่อสุ่มตัวอย่างและติดฉลากเรียบร้อยแล้ว ต้องนำ ภาชนะบรรจุตัวอย่างอาหารนั้นใส่ในถุงพลาสติกที่ สะอาดอีกชั้นหนึ่งรัดปากถุงให้เรียบร้อย เก็บในภาชนะ ที่สามารถรักษาอุณหภูมิไว้ได้ที่ประมาณ 4 oC ห้ามแช่แข็ง ยกเว้น ตัวอย่างที่แช่แข็ง ต้องนำส่งในสภาพที่แช่แข็ง

การนำส่งตัวอย่างอาหาร การนำส่งห้องปฏิบัติ ต้องมีการนัดหมายล่วงหน้า ก่อนนำส่ง โดยจะต้องนำส่ง ภายในไม่เกิน 4 -6 ชั่วโมง กรณีที่จะตรวจวิเคราะห์ทางจุลชีววิทยา ไม่เกิน 72 ชั่วโมง กรณีที่จะตรวจทางเคมีและกายภาพ

นำส่งตัวอย่างทุกครั้งต้องมีหนังสือนำส่ง โดยแจ้ง  รายละเอียดของตัวอย่างที่ส่งตรวจ  จำนวนตัวอย่างและจำนวนหน่วยของแต่ละตัวอย่าง  วัตถุประสงค์หรือรายการที่ต้องการให้ตรวจ  กรณีเป็นอาหารที่สงสัยว่าจะเป็นสาเหตุให้เกิด อาการอาหารเป็นพิษ ต้องแจ้งข้อมูลทางระบาดวิทยา โดยละเอียดเพื่อเป็นแนวทางในการหาสาเหตุ ของการเกิดโรค

0 4220 7368 0 4220 7364 – 66 ต่อ 113 งานวิเคราะห์อาหารจุลชีววิทยา เบอร์โทรศัพท์ ในเวลาราชการ 0 4220 7364 – 66 ต่อ 113 เบอร์โทรศัพท์ นอกเวลาราชการ 1. นางเกตุ สินเทศ 08 1048 6462 2. นางโชติวรรณ พรทุม 08 3361 7038 3. นายสุริยา สารีบุตร 08 9277 7441