Pre hospital and emergency room management of head injury

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
เวชปฏิบัติปลอดภัยในวาระสุดท้ายของชีวิต
กายภาพบำบัด ในผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
สอนให้ศิษย์ เก่ง ดี มีสุข รศ.นพ.สุชาติ อารีมิตร.
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
RADIOLOGY DEPARTMENT กลุ่มงานรังสีวิทยา.
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ เครือข่ายจังหวัดสงขลา นพ.ภควัต จุลทอง โรงพยาบาลหาดใหญ่
Pattern of injury in child fatalities resulting from child abuse
ตามคำสั่งของแพทย์ ในระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
การให้บริการส่งยาสำหรับ ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังทางไปรษณีย์
Risk management รศ.นพ.จรัล กังสนารักษ์.
การเตรียมผู้ป่วย ก่อนรับการรักษาด้วยรังสี
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
การดูแลผู้ป่วยได้รับสารพิษเบื้องต้น
VDO conference dengue 1 July 2013.
ทิศทางการบริหารจัดการโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
ขั้นตอนการจัดการสาธารณภัย
Cancer in Thailand Cancer in Thailand 2003.
Principle of Prachinburi Triage Scale(PTS)
โดย รศ.ประคอง อินทรสมบัติ
STROKE ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทย์ประเสริฐ บุญเกิด
ประเด็นการตรวจราชการ
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2552 ดรุณี โพธิ์ศรี
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
เพราะเหตุใด คิดอย่างไร ใช้อะไร ใครเกี่ยวข้อง ลองอย่างไร ได้อะไร.
Dip.Thai Broad Preventive Medicine
ระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่วย
Umbilical cord prolapsed
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
สุรัตน์ มนต์ประสาธน์ RN ICU
21/02/54 Ambulatory care.
การเตรียมพร้อมผู้ป่วยก่อนการส่งต่อ
โรคเบาหวาน ภ.
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
แผนผังการสร้างงาน วิชาคอมพิวเตอร์สร้างงาน เรื่อง การสแกนร่างกาย
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์
สาขาอุบัติเหตุ 27 กย 57.
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่าง อื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรัง พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
SEPSIS.
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
การพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
Shock ผศ.พญ.รพีพร โรจน์แสงเรือง ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
Septic shock เป็นภาวะช็อกที่เกิดจาก systemic inflammatory response ของร่างกาย อันเป็นผลมาจากการติดเชื้อรุนแรง.
การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสุรินทร์ Emergency Room Surin Hospital
Risk Management System
Orthopaedic Emergency นงลักษณ์ อนันต์ประดิษฐ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
NUR 3263 การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care)
กายภาพบำบัดใน ผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Pre hospital and emergency room management of head injury นพ.สมศักดิ์ ผ่องประเสริฐ รพ.นครธน

Intracranial secondary injury Brain edema Increased intracranial pressure Delayed intracerebral hematoma Hyperemia Vasospasm Seizure ฯลฯ

Extracranial secondary injury ภาวะแทรกซ้อน สาเหตุ Hypoxia Respiratory arrest (PaO2 <60 mmHg) Airway obstruction Adult respiratory distress syndrome Aspiration pneumonia Pneumothorax / hemothorax Pulmonary contustion Hypotension (Systemic BP≤ 90mmHg) Shock Excessive bleeding Myocardial infraction Cardiac contusion or tamponade Spinal cord injury Tension pneumothorax Electrolyte imbalance Diabetes insipidus Syndrome of inappropriate secretion of Antdiuretic hormone อื่นๆ Anemia Hyperthermia Hypercarbia , hypocarbia Hypoglycemia , heperglycemia

การคัดแยกผู้บาดเจ็บ Definite care Adjunct Triage Trauma patient Primary survey Resuscitation Secondary survey

Primary survey & Resuscitation A : Airway with cervical spine control B : Breathing C : Circulation D :Disability E : Exposure / Environment

semi-rigid cervical collar

in-line immobilization

B : Breathing and ventilation Tension pneumothorax Flail chest Open pneumothorax ( sucking chest wound ) Massive hemothorax Cardiac temponade

Classification of blood loss C : Circulation and hemorrhage control Classification of blood loss Class Ⅰ Class Ⅱ Class Ⅲ Class Ⅳ Blood loss (ml) Up to 750 750-1500 1500-2000 > 2000 Blood loss (% blood volume) Up to 15% 15-30% 30-40% > 40% Pulse rate < 100 > 100 > 120 > 140 Blood pressure Normal Decreased Pulse pressure (mmHg) Respiratory rate 14-20 20-30 30-40 > 35 Urine output (ml/hr) > 30 5-15 Negligibic CNS/ mental status Slightly anxious Mildly anxious Anxious, confused Confused, lethargic Fluid replacement Crystalloid Crystalloid, blood (3:1 rule) ดัดแปลงจาก Advanced Trauma Life Support Student Course Manual 7th edition

D : Disability : Neurologic status การประเมินระดับความรู้สึก ได้แก่ Glasgow Coma Scale ( GCS ) ประกอบด้วย การประเมิน Eye response, Verbal response cและ Motor response AVPU response ประกอบด้วย A-Alert , V-Respond to Vocal stimuli, P-Respond only to Painful stimuli, U-Unresponsive to all stimuli การประเมิน localizing sign ได้แก่ การประเมิน pupils response, การประเมินภาวะอ่อนแรงของร่างกายซีกใดซีกหนึ่ง

E : Exposure / Environment control ควรตรวจร่างกายทั้งตัว โดย ใช้ Spinal log roll ถอดเสื้อผ้าทั้งหมด Pitfall ที่อาจผิดพลาด หลัง ขาหนีบ อวัยวะเพศ ท้ายทอยและศีรษะด้านหลัง (ไรผม) ทวารหนัก ( PR ) การสวนปัสสาวะ ( Cath )

Adjuncts to primary survey and resuscitation 1. Monitoring EKG Pulse oximetry End-tidal CO2 การใส่สายสวนปัสสาวะ การใส่ nasogastric tube 2. Investigation CBC , BUN , Creatinine , Electrolyte Trauma film : C-spine lateral view, Chest x-ray AP view, Pelvis film AP view Focused Assessment Sonographic on Trauma ( FAST ) disgnostic peritoneal lavage ( DPL )

Secondary survey เป็นการตรวจหาพยาธิสภาพ อย่างละเอียด หลังจากที่ผู้บาดเจ็บพ้นภาวะวิกฤตแล้ว การซักประวัติ A = Allergies M = Medications currently used P = Past illnesses/Pregnancy L = Last meal E = Events/Environment related to the injury การตรวจร่างกาย จะต้องตรวจร่างกาย จะต้องตรวจร่างกายอย่างละเอียดตั้งแต่หัวจรดเท้า

Adjuncts to secondary survey การตรวจพิเศษต่าง ๆ เช่น CT scan Urethrogram Esophagoscopy Bronchoscopy

Definite care Craniotomy Explore Lab ICU

สรุป การประเมินและดูแลผู้บาดเจ็บในเบื้องต้น สำหรับการบาดเจ็บที่ศีรษะ ใช้แนวทาง ATLS จะต้องค้นหาการบาดเจ็บอวัยวะ อื่นนอกเหนือจากสมอง ( Multiple injuries ) ป้องกันและรักษาภาวะ Hypotension และ Hypoxia ใส่ Endotracheal tube ทุกรายในผู้ป่วยที่มี GCS <9 ยา Sedative ให้เมื่อพร้อมตรวจด้วยภาพรังสีคอมพิวเตอร์สมอง

Traumatic brain injury care map

Thank You