แนวทางควบคุมโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Service Plan สาขา NCD.
Advertisements

การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
พื้นที่น้ำท่วม วันที่ 23 ต.ค. 2554
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554
ความหมายและกระบวนการ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
สรุปผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
ดำเนิน งาน ต่อเนื่อ ง จนท. เป็นพี่ เลี้ยง. ค่าย ปรับ และ เปลี่ยน พฤติกร รม.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
ทิศทางการบริหารจัดการโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
NCD and Aging to CCVD System Manager
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวงทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระยองและคณะติดตามประเมินผล
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
คปสอ.เมืองปาน.
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
โดย เสาวลักษณ์ สัจจา กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.หนองคาย
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
นพ.ธนชัย พนาพุฒิ อายุรแพทย์โรคไต รพ.ขอนแก่น 14 พย. 2557
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การดำเนินงาน คลินิก NCD คุณภาพ จังหวัดเลย
สาขาโรคมะเร็ง.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางควบคุมโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม

ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย Nation ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ministry (Thailand Healthy Life style Strategy) (2554-2563) โครงการหมู่บ้าน ต้นแบบ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โครงการคนไทยไร้พุง Department สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด Province

จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2553 หน่วยงาน จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด ผู้ป่วยใหม่ปี 2553 รพ.นครปฐม 10,982 2,624 รพ.กำแพงแสน 4,016 1,510 รพ.นครชัยศรี 1,705 293 รพ.ห้วยพลู 2,008 146 รพ.ดอนตูม 1,430 186 รพ.บางเลน 2,050 209 รพ.สามพราน 3,533 680 รพ.พุทธมณฑล 1,093 408 รพ.หลวงพ่อเปิ่น 1,000 118 รวม 27,817 6,174

เปรียบเทียบข้อมูลผู้ป่วยโรคเบาหวานจังหวัดนครปฐม 5 ปีย้อนหลัง ข้อมูลพื้นฐาน หน่วย ผู้ป่วยเบาหวาน ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน คน 13,808 17,337 19,232 23,570 27,817 จำนวนประชากรกลางปี 806,864 811,408 824,702 826,150 อัตราป่วยโรคเบาหวาน ต่อแสน ปชก. 1,711.32 2,136.66 2,331.99 2,858.00 3,367.06 อัตราเพิ่ม ปี 53 17.8 %

จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ปี 2553 หน่วยงาน จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด ผู้ป่วยใหม่ปี 2553 รพ.นครปฐม 21,440 5,920 รพ.กำแพงแสน 8,213 2,949 รพ.นครชัยศรี 3,264 709 รพ.ห้วยพลู 4,334 337 รพ.ดอนตูม 3,365 611 รพ.บางเลน 5,321 569 รพ.สามพราน 7,074 1,532 รพ.พุทธมณฑล 1,959 872 รพ.หลวงพ่อเปิ่น 2,195 322 รวม 57,165 13,821

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เปรียบเทียบข้อมูลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดนครปฐม 5 ปีย้อนหลัง ข้อมูลพื้นฐาน หน่วย ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน คน 23,795 31,614 34,047 42,382 57,165 จำนวนประชากรกลางปี 806,864 811,408 824,702 826,150 อัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูง ต่อแสนปชก. 2,949.07 3,896.19 4,128.40 5,139.07 6,919.45 อัตราเพิ่ม ปี 53 34.64 %

ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ระบบบริการสุขภาพของไทย การพัฒนา ระบบบริการสุขภาพของไทย การแก้ปัญหา สุขภาพของคนไทย

เป้าหมายหลักในการพัฒนา ลดปัญหาโรควิถีชีวิต ที่สำคัญ 5 โรค ( เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมอง มะเร็ง) ใน 4 ด้าน คือ ลดการเกิดโรค ลดภาวะแทรกซ้อน ลดการตาย ลดภาระค่าใช้จ่าย เพิ่มวิถีชีวิตพอเพียงใน 2 ด้าน คือ เพิ่มการบริโภคที่เหมาะสม เพิ่มการออกกำลังกายที่เพียงพอ มีการค้นพบผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่เพิ่มมากขึ้น ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมารับบริการจำนวนเพิ่มขึ้น (คน/ครั้ง)

แนวคิดการดำเนินงานดูแลผู้ป่วยกลุ่ม Metabolic Disease Primary Prevention Secondary Prevention Tertiary Prevention HbA1C < 7 % LDL-Chol < 100 mg% BP 130/80 mmHg Micro albumin Eye exam Foot exam Micro Vascular Complication ความเสี่ยงต่อหลอดเลือด Kidney Disease PP CKD Clinic CAPD HD KT คัดกรอง 1.ชะลอการเสื่อมของไต 2.ประเมินและรักษา 3.ลดความเสี่ยง CVD 4.เตรียมผู้ป่วย RRT Retinopathy PPIS Macro Vascular Complication คัดกรองปัจจัยเสี่ยง DM, HT, COPD โรคหลอดเลือด (ไขมัน) กลุ่มเสี่ยง Pre-DM Pre-HT DM/HT Stroke Alert Stroke ชุมชน, EMS, IP, OP/ER Stroke Fast Track มุมปากตก แขนอ่อนแรง พูดไม่ชัด Macro Vascular Complication Heart ACS Alert การลงทะเบียน Acute STEMI ชุมชน, EMS, IP, OP/ER การรักษาด้วยยา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การสนับสนุนการจัดการตนเอง ST Elevated EKG เจ็บหน้าอก เค้น นานๆ ปวดร้าวแขน คาง

คัดกรองอายุ = > 35 ปี (407,731 คน) “โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน” จังหวัดนครปฐม ปี 2554 คัดกรองอายุ = > 35 ปี (407,731 คน) กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ป่วย กลุ่มผู้พิการ ความรู้ทั่วไป การออกกำลังกาย การคัดกรองปีต่อไป การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม การตรวจซ้ำ การคัดกรองปีต่อไป การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม การรักษา CPG ตรวจภาวะแทรกซ้อน จัดตั้งชมรมผู้ป่วย - การรักษา CPG - การเยี่ยมบ้าน SRM

ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการลงทะเบียนและตรวจภาวะแทรกซ้อน ปี 2553 (จำนวนที่ลงทะเบียน 22,045 คน)เทียบจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 27,817 คน) ข้อมูลที่ตรวจ ตรวจตา ตรวจไต ตรวจเท้า ตรวจ HbA1C จำนวนที่ตรวจ (คน) 8,516 5,286 8,514 10,829 คิดเป็นร้อยละ 30.61 19.00 38.93

ผลการคัดกรองเบาหวานและความดันจังหวัดนครปฐมปี 2553

ผู้ป่วยเบาหวานความดันที่ส่งต่อไปรักษาที่ รพ.สต. โรคเบาหวาน จำนวน 1,683 ราย (6.05 %) โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 2,964 ราย (5.18 %)

การนำเสนอการดำเนินงาน ปี2554 มาตรการ / กลยุทธการดำเนินงานไปสู่ความสำเร็จ  กำหนดให้เป็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด  การทำงานเชิงรุก  การมีส่วนร่วมของชุมชน  การใช้พื้นที่เป็นฐาน โดยการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์  บูรณการทุกภาคส่วน  สร้างกระบวนการเรียนรู้สู่ชุมชน

แนวทางการดำเนินงานที่สำคัญ  ขับเคลื่อนนโยบายลงสู่พื้นที่  รณรงค์ประชาสัมพันธ์ สร้างการมีส่วนร่วม อบรมครู ก/ข อย่างเข้มข้น  จัดตั้ง DPAC ในสถานบริการ  พัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูล  จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้  ประกวดบุคคล/ชุมชนต้นแบบ

แนวทางการดำเนินงานHT/DM ปี 2554 คัดกรองกลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 407,731 ราย กลุ่มปกติให้ความรู้ นัดตรวจปีต่อไป กลุ่มเสี่ยง - ระดับบุคคล ใช้ DPAC 143 หน่วย - ระดับชุมชน ใช้ SRM 106 ตำบล - ตำบลต้นแบบ 1 ตำบล/อำเภอ

แนวทางการดำเนินงานHT/DM ปี 2554 4. กลุ่มผู้ป่วย - ส่งรักษา รพ.สต.ใกล้บ้าน - ตรวจภาวะแทรกซ้อนโดย รพ.สต. 5. กลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน - ส่งต่อ รพส./รพช. - เยี่ยมบ้านโดยจนท./อสม.